This is an outdated version published on 2023-04-21. Read the most recent version.

การพัฒนาตำรับและประเมินคุณสมบัติทางกายภาพ ของแผ่นเจลห้ามเลือดที่มีส่วนผสมของสารสกัดหญ้าแพรก

ผู้แต่ง

  • ยัฟตีมา มะรือสะ Department of Thai Traditional Medicine, Faculty of Health and Sports Science, Thaksin University
  • รัยญาณร์ อุษมาน สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • ยมล พิทักษ์ภาวศุทธิ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • สุกาญจนา กำลังมาก สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ

คำสำคัญ:

แผ่นเจล, หญ้าแพรก, กลไกการห้ามเลือด

บทคัดย่อ

หญ้าแพรก (Cynodon dactylon (L.) Pers.) มีสรรพคุณช่วยสมานแผล และเป็นยาห้ามเลือด สารสกัดหญ้าแพรกจึงเป็นสารที่น่าสนใจนํามาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ห้ามเลือด การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสารพฤกษเคมีของสารสกัดหญ้าแพรก ได้แก่ สารแทนนิน และสารอัลคาลอยด์ ในตัวทำละลายที่ต่างกัน นํามาพัฒนาสูตรตํารับ ทดสอบการดูดซึมน้ำ และทดสอบความคงสภาพของตํารับแผ่นเจลห้ามเลือดที่มีส่วนผสมของสารสกัดหญ้าแพรก
ผลการศึกษา พบว่า สารสกัดจากหญ้าแพรกโดยวิธีการหมักด้วยเอทานอลมีสารอัลคาลอยด์และสารแทนนินซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ถึงคุณสมบัติในการห้ามเลือด สามารถนํามาเป็นสาระสำคัญในการพัฒนาแผ่นเจลห้ามเลือด อีกทั้งยังพัฒนาจนได้แผ่นเจลที่มีความคงตัวดีทั้งหมด 4 สูตร จากการทดสอบการดูดซึมและกักเก็บน้ำของแผ่นเจล พบว่า สูตรที่ D ซึ่งประกอบด้วย สารสกัดหญ้าแพรก เจลาติน คาร์บอกซีเมทิล เซลลูโลส และน้ำ ในอัตราส่วนร้อยละ 30 : 5 : 2 : 63 สามารถดูดซึมและกักเก็บน้ำได้มากที่สุด และพบว่า ตํารับแผ่นเจลห้ามเลือดที่มีส่วนผสมของสารสกัดหญ้าแพรกไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพทั้งสีละกลิ่นหลังการทดสอบเสร็จ อีกทั้งการพัฒนาตํารับแผ่นเจลครั้งนี้ใช้ตัวทำละลายที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green solvent) และแผ่นเจลหญ้าแพรกยังสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการปลดปล่อยยาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ห้ามเลือดที่สามารถวางขายในท้องตลาดได้ในอนาคต

References

กชกร ทองมาก, ธารารัตน์ จันทร์พัฒน์, รติมาจันแดง, วิทวัส หมาดอี, และกุสุมาลย์ น้อยผา. (2564). การศึกษา สารพฤกษเคมีเบื้องต้นและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของพืชที่จัดอยู่ในกลุ่มพิกัดเกสรทั้งห้า. วารสารหมอยาไทยวิจัย, 7(2), 61-74.

กฤษณา ศิรเลิศมุกุล. (2547). เซลลูโลสจากเปลือกทุเรียน. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2565. จาก http://www.material.chula.ac.th/RADIO47/September/radio9-4.htm.

กัมปนาท หวลบุตตา. (2560). พอลิเมอร์ที่ใช้ทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical polymers). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะเภสัชศาสตร์.

กาญจนา จันทร์สิงห์. (2563). หญ้าแพรก. สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2565. จาก https://arit.kpru.ac.th/.

ขวัญฤทัย กิ่วไธสง. (2560). การประเมินอายุการเก็บรักษาผงปรุงรสมาซาลา (รายงานของวิชาสหกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม, คณะวิทยาศาสตร์, ภาควิชาเทคโนโลยีการอาหาร.

ชัพวิชญ์ ศิลารักษ์, พีรวิชญ์ พลอยนาพล, และสุรศักดิ์ พูลสวัสดิ์. (2561). การศึกษาอาการปวดอย่างรุนแรงจากการใช้ Combat application tourniquet ในนักศึกษาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ (วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี). มหาวิทยาลัยมหิดล, คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี.

ณพัฐอร บัวฉุน. (2562). สารพฤกษเคมีเบื้องต้นและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสลัดน้ำพืชสดและพืชแห้ง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 14(1), 144-154.

ทัณฑิกา แก้วสูงเนิน, ฉัตรชนก นุกูลกิจ, เพ็ญศิริ จันทร์แอ, ภานิชา พงศ์นราทร, นฤวัตร ภักดี, พิเชษฐ เวชวิฐาน, ศรัณย์ ฉวีรักษ์, อนรรฆอร จิตต์เจริญธรรม, ปภาวินี ผะแดนนอก, และฉัตรลดา หงษ์วิลัย. (2021). การยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสของสารสกัดสมุนไพรพื้นบ้านในจังหวัดสกลนคร. วารสารหมอยาไทยวิจัย, 7(1), 15-28.

ธนาภา เลิศชยันตี, สุธาสินี ทัพพสารพงศ์, และณัฐวดีกันพิพิธ. (2563).คุณสมบัติและฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของไฮโดรเจลที่ผสมเซริซินจากรังไหมพันธ์ J108. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 20(3), 123.

ยัฟตีมา มะรือสะ, รัยญาณร์ อุษมาน, ยมล พิทักษ์ภาวศุทธิ, และสุกาญจนา กำลังมาก. (2565). การพัฒนาตำรับแผ่นเจลห้ามเลือดที่มีส่วนผสมของสารสกัดหญ้าแพรก. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 13 (น. A370-A378). สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.

วศิน วาสิกะสิน. (2018). สายรัดห้ามเลือดในสนามรบ. Royal Thai Army Medical Journal, 71(3), 203-206.

วิชิต นริศรา, และธัญญา ทะพิงค์แก. (2563). พัฒนาวิถีสมุนไพรของกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อยกระดับชุมชนอย่างยั่งยืน (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. (2542). หนังสือพจนานุกรมสมุนไพรไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์.

วิภาวรรณ นีละพงษ์, บุษบา ผลโยธิน, และวันเช็ง สิทธิกิจโยธิน. (2561) การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพรไทย:การสกัดด้วยไอน้ำและการสกัดด้วยตัวทำละลาย. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 28(4), 901-91.

ศิวาพัชญ์ จิรโชติเกศกุล, และญษมณ ละทัยนิล. (2019). การพัฒนาตำรับเจลทาผิวจากสารสกัดว่านหางจระเข้. ใน การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 5 (น. 197-202). ราชบุรี: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี.

สุนทร ตรีนันทวัน. (2555). ฟิล์มเคลือบผิวผลไม้จากเยื่อฟางข้าว CMC. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2565. จากhttp://edtech.ipst.ac.th/index.php/2011-07-29-04-02-00/18-2011-08-09-06-29-06/372-2012-07-09-02-32-5.

สุพนิต จึงแย้มปิ่น. (2560). การพัฒนาเจลาตินผสมเชลแลคสำหรับใช้เป็นแผ่นแปะยากรดกาลิคผ่านผิวหนัง. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี, คณะวิศวกรรมศาสตร์.

สุมิตรา พงษ์ศิริ. บาดแผลและการหายของบาดแผล. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2565. จาก http://web1.dent.cmu.ac.th/

mis/dis/UserFiles/File/.

อัชมาน อาแด, ฮาซัน ดอปอ, และสุรเดช มัจฉาเวช. (2564). การเตรียมแผ่นไฮโดรเจลเย็นเคลือบยางพารา สำหรับลดไข้ (รายงานวิจัย). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

Al-Snafi, A.E. (2016). Chemical constituents and pharmacological effects of Cynodon dactylon-A review. IOSR Journal of Pharmacy, 6(7), 17-31.

Amarowicz, R. (2007). Tannins: the new natural antioxidants?. European Journal of Lipid Science and Technology, 109(6), 549-551.

Balasundari, T., & Boominathan, M. (2018). Screening of bioactive compounds by GC-MS, antimicrobial activity and in silico studies in Cynodon dactylon L. Pers leaves. World Journal of Science and Research, 3(1), 07-15.

Boochangkool, N. (2017). Advanced wound dressing. TMJ, 17(3), 402-407.

Dande, P.A.Y.A.L., & Khan, A.N.I.S. (2012). Evaluation of wound healing potential of Cynodon dactylon. Asian J Pharm Clin Res, 5(3), 161-164.

Hugar, L., & Ramesh, H. (2014). Evaluation of haemostatic effect of Cynodon dactylon pers in albino rats. Journal of Evolution of Medical and Dental Sciences, 3(11), 2711-2714.

Leartchayantee, T., Thapphasaraphong, S.,& Kanpipith, N. (2020). Properties and antioxidant activities of hydrogel containing sericin from j108 cultivar. KKU Research Journal (Graduate Studies), 20(3), 123-136.

Munmaya, M. (2016). Handbook of Encapsulation and Controlled Release, Taylor & Francis Group, 588.

Pipatvilikul, R., & Kanlerd, A. (2022). Trauma-induced coagulopathy Journal of the Association of General Surgeons of Thailand under the Royal of Patronage of HM the King, 7(1). 1-20.

Punam, T., Shubhangi, W., Rahul, S., Sargar, A., Bhujbal, A., & Shinde, A. (2014). Stability study of dosage form: aninovative step. World J Pharm Pharm Sci, 3(2), 1031-50.

Rakwathin, J. (1997). Approach for light stability testing of drugs. Bangkok: Niyomvittaya.

Satapathy, S., Singh, V.K., Sagiri, S.S., Agarwal, T., Banerjee, I., Bhattacharya, M.K., Kumar N.,& Pal, K. (2015). Development and characterization of gelatin-based hydrogels, emulsion hydrogels, and bigels: A comparative study. Journal of Applied Polymer Science, 132(8), 1-12.

Scalbert, A. (1991). Antimicrobial properties of tannins. Phytochemistry, 30(12), 3875-3883.

Suganya, K., Kavitha, D., & Santhini, E. (2022). Development and characterization of gelatin-based herbal hydrogels for managing infected wounds. Indian Journal of Fibre & Textile Research, 47(2), 59-69.

World Health Organization (WHO). (2018). Global status report on road safety. Accessed 2 October 2022. From https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/277370/WHO-NMH-NVI-18.20-eng.pdf?ua=1.

Yoo, H.J., & Kim, H.D. (2008). Synthesis and properties of waterborne polyurethane hydrogels for wound healing dressings. Journal of Biomedical Materials Research Part B: Applied Biomaterials: An Official Journal of The Society for Biomaterials, The Japanese Society for Biomaterials, and The Australian Society for Biomaterials and the Korean Society for Biomaterials, 85(2), 326-333.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-21

Versions

How to Cite

มะรือสะ ย. ., อุษมาน ร. ., พิทักษ์ภาวศุทธิ ย. ., & กำลังมาก ส. . (2023). การพัฒนาตำรับและประเมินคุณสมบัติทางกายภาพ ของแผ่นเจลห้ามเลือดที่มีส่วนผสมของสารสกัดหญ้าแพรก. PSRU Journal of Science and Technology, 8(1), 51–66. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/Scipsru/article/view/251476

ฉบับ

บท

บทความวิจัย