ผลของ BA TDZ และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของ ฟิโลเดนดรอนเบอร์กิ้น PHILODENDRON ‘BIRKIN’ ในสภาพปลอดเชื้อ

ผู้แต่ง

  • วัลยา มงคลสวัสดิ์ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • ทัศนัย ปัญจันทร์สงห์ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • พาริณี โลมาอินทร์ ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

คำสำคัญ:

การขยายพันธุ์ , เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช , ฮอร์โมน, ฟิโลเดนดรอน

บทคัดย่อ

การศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการเพาะเลี้ยงต้นอ่อนจากปลายยอดของต้นฟิโลเดนดรอนเบอร์กิ้น วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design; CRD) ประกอบด้วย 13 ทรีทเมนท์ๆ ละ 10 ซ้ำ โดยนำต้นอ่อนขนาด 0.5-1 ซม. เพาะเลี้ยงบนสูตรอาหารสังเคราะห์ MS ที่เติม N6-benzyladenine (BA) และ Thidiazuron (TDZ) ที่ระดับความเข้มข้น 0 1 2 4 และ 8 มก./ล. และสูตรอาหารสังเคราะห์ MS ที่เติม BA 1 2 และ 4 มก./ล. ร่วมกับ NAA 0.5 มก./ล. เป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่า ต้นอ่อนที่เพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม BA 2 มก./ล. และ TDZ 2 มก./ล. สามารถชักนำให้เกิดจำนวนยอดเฉลี่ยต่อชิ้นส่วนสูงสุด 4.8 และ 4.7 ยอด ตามลำดับ อาหารสูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโตสามารถชักนำให้เกิดความยาวยอดเฉลี่ยสูงสุด 1.88 ซม. โดยอาหารสูตร MS ที่เติม BA 1 มก./ล. สามารถชักนำให้เกิดความยาวรากเฉลี่ยสูงสุด 2.75 ซม. ในขณะที่อาหารสูตร MS ที่เติม BA 1 และ 2 มก./ล. สามารถชักนำให้เกิดจำนวนรากเฉลี่ยต่อชิ้นส่วนสูงสุด 6.8 และ 6.7 ราก ตามลำดับ ผลการศึกษาที่ได้สามารถใช้นำมาประยุกต์ใช้เพื่อการขยายพันธุ์ให้ได้จำนวนมากในระยะเวลาอันสั้น และสามารถอนุรักษ์พันธุกรรมให้อยู่ในธรรมชาติต่อไปได้

References

คำนูณ กาญจนภูมิ. (2542). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นพดล จรัสสัมฤทธิ์. (2537). ฮอร์โมนพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. กรุงเทพฯ: รั้วเขียว.

พันธิตรา กมล, อุรัสยาน์ บูลย์ประมุข, และอนุพันธ์ กงบังเกิด. (2555). ผลของไซโตไคนินและออกซินต่อการพัฒนาของเนื้อเยื่อเพาะเลี้ยงขมิ้นขาว (Curcuma mangga Valeton & Zijp.). วารสารพฤกษศาสตร์ไทย, 4(ฉบับพิเศษ), 87-92.

ภพเก้า พุทธรักษ์, และวารุต อยู่คง. (2554). การอนรุกษ์และการขยายพันธุ์มะคังขาวและผักหวานบ้านด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(3), 1-7.

ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ, และอัญชลี จาละ. (2557). อิทธิพลของ BA และ NAA ที่มีต่อการเพิ่มจำนวนยอดต้นพรมมิ โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 3(1), 7-14.

เยาวพา จิระเกียรติกุล, และปนัดดา ลิ้มประดิษฐานนท์. (2549). การเพิ่มจำนวนยอดและชักนำให้เกิดรากของต้นฟิโลเดนดรอนซานาดูด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 28(1), 79-86.

ราฮีมา วาแมดีซา, บักเร็น อาลี, นุร์ซานีซา เจะดาโอะ, และศุภณัฏฐ์ กาญจนวัฒนาวงศ์. (2564). การใช้สารเคมีฆ่าเชื้อเติมในอาหารสูตรMS เพื่อเพาะเลี้ยงฟิโลเดนดรอน “รวยทรัพย์” ในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 13(1), 377-387.

รังสฤษฏ์ กาวีต๊ะ. (2540). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช: หลักการและเทคนิค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สิเรียม ทองใบใหญ่. (2561). ผลของ BA ร่วมกับ NAA และฉากรังสีแกมมาที่มีผลต่อฟิโลเดนดรอนเชอร์รี่เรดในสภาพปลอดเชื้อ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, คณะเทคโนโลยีการเกษตร, สาขาเทคโนโลยีผลิตพืช.

Alawaadh, A.A., Dewir, Y.H., & Alwihibi, M.S. (2020). Micropropagation of Lacy Tree Philodendron (Philodendron bipinnatifidum Schott ex Endl.) HortScience, 55(3), 294–299.

Ascencio, M.L., Rodríguez, M.A., Sánchez, D.G., Nava, H.S., & Torres, O.G.V. (2021). Establishment of In vitro aseptic culture of Philodendron xanadu Croat. Revista Ciência Agronômica, 52(2), 1-9.

Benczur, E.J., & Riffer A.M. (1990). In vitro propagation of Philodendron tuxtlanum Bunting with benzylaminopurine. Acta Agronomica Hungarica, 39, 341–348.

Chen, F.C., Wang, C.Y., & Fang, J.Y. (2012). Micropropagation of self-heading Philodendron via direct shoot regeneration. Scientia Horticultura, 141, 23–29.

Fahmy, G.E. & Arafa, A.M.S., Ibrahim, I.A., & Zaynab, E.Z. (1998). In vitro propagation of Philodendron erubescens cv. Red Emerald. Annals of Agricultural Science, Moshtohor, 36(3), 1653-1666.

Gangopadhyay, G., Bandyopadhyay, T., Gangopadhyay, S.B., & Mukherjee, K.K. (2004). Luffa sponge - A unique matrix for tissue culture of Philodendron. Current Science, 86, 315–319.

Han, B.H., & Park., B.M. (2008). In vitro micropropagation of Philodendron cannifolium. Journal of Plant Biotechnology, 35(3), 203-208.

Junyan, Z., Ma, H., Guoand, F., & Lao, X. (1994). Effect of thidiazuron on somatic embryogenesis of Cayratia japonica. Plant Cell, Tissue and Organ Culture, 36, 73-79.

Koriesh, E.M., & Al-Manie, F.A. (2000). Growth and root formation of Philodendron oxycardium grown In vitro as affected by benzyladenine and indole acetic acid. Egyptian Journal of Horticulture, 27, 1-11.

Mayo, S.J., Bogner, J., & Boyce, P.C. (1997). The Genera of Araceae. Royal Botanical Gardebs, Kew.

Mok, M., Mok, D., Turner, J., & Mujer, C. (1987). Biological and biochemical effects of cytokinin-active phenylurea derivatives in tissue culture systems. HortScience, 22(6), 1194-1197.

Murashige, T., & Skoog, F. (1962). A revised medium for rapid growth and bioassays with tobacco tissue cultures. Physiologia Plantarum, 15, 473–497.

Skoog, F., Strong, F.M., & Miller, C.O. (1965). Cytokinins. Science, 148, 532–533.

Zhang, P., Huang, X., Xu, X., & Ling, D. (1997). Plant regeneration from In vitro culture of Philodendron erubescens. Journal of Tropical and Subtropical Botany, 5, 78-80.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-21 — Updated on 2024-05-29

Versions

How to Cite

มงคลสวัสดิ์ ว. ., ปัญจันทร์สงห์ ท. . ., & โลมาอินทร์ พ. . (2024). ผลของ BA TDZ และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของ ฟิโลเดนดรอนเบอร์กิ้น PHILODENDRON ‘BIRKIN’ ในสภาพปลอดเชื้อ. PSRU Journal of Science and Technology, 8(1), 17–36. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/Scipsru/article/view/250932 (Original work published 21 เมษายน 2023)

ฉบับ

บท

บทความวิจัย