ฤทธิ์ทางชีวภาพ ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก และวิตามินซี จากสารสกัดลูกหว้า

ผู้แต่ง

  • มนตรา ศรีษะแย้ม 1Department of Microbiology, Faculty of Science and Technology, Pibulsongkram Rajabhat University
  • เชาวลิต พึ่งแตง
  • อนงค์ ศรีโสภา
  • อรุณลักษณ์ โชตินาครินทร์

คำสำคัญ:

ลูกหว้า, ฟีนอลิก, วิตามินซี, ต้านแบคทีเรีย, ต้านอนุมูลอิสระ

บทคัดย่อ

ผลิตภัณฑ์เวชสำอางเป็นสิ่งที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ซึ่งลูกหว้าเป็นผลไม้พื้นบ้านของไทยที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพมากมาย แต่ยังขาดการรายงานคุณสมบัติด้านเวชสำอางที่แน่ชัด ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส ยับยั้งแบคทีเรียก่อสิว รวมทั้งวิเคราะห์ปริมาณฟีนอลิกและวิตามินซี จากสารสกัดลูกหว้า ผลที่ได้พบว่า สารสกัดลูกหว้ามีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยมีค่า IC50 เท่ากับ 85.22±4.35 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิก เท่ากับ 18.50±1.84 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกต่อกรัมสารสกัด มีปริมาณวิตามินซีในรูปของกรดแอสคอร์บิคเป็นองค์ประกอบ เท่ากับ 15.24±1.84 มิลลิกรัมต่อกรัมสารสกัด นอกจากนี้สารสกัดลูกหว้ามีความสามารถในการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส มีค่า IC50 เท่ากับ 181.59±4.77 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และมีความสามารถในการยับยั้ง Propionibacterium acnes และ Staphylococcus aureus ได้เท่ากับ 14.5±0.07 และ 9.50±0.50 เซนติเมตร ตามลำดับ ที่ระดับความเข้มข้น 50 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ดังนั้นสามารถนำสารสกัดลูกหว้าไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้านเวชสำอางเพื่อยับยั้งสิวได้ แต่ควรมีการทดสอบการระคายเคืองต่อผิวต่อไป

References

กิติพงศ์ อัศตรกุล, และนฤมล หิมะสุทธิเดช. (2560). ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์การยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียของสารสกัดจากหัวหอมและการประยุกต์ใช้ในน้้าผักและผลไม้ผสม. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 12, 71-83.

นิตยา บุญนำมา, ณัฏฐา เลาหกุลจิตต์ม, ฉัตรภา หัตถโกศล, และพร้อมลักษณ์ สมบูรณ์ปัญญากุล. (2558). การเอนแคปซูเลชั่นน้ำลูกหว้าด้วยการแห้งทำแบบพ่นฝอยและผลต่อสมบัติทางเคมี-กายภาพปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอสิระ. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 46(3)(พิเศษ), 601-604.

ปฏิวิทย์ ลอยพิมาย, ทิพวรรณ ผาสกุล, และราตรี มงคลไทย. (2554). เปรียบเทียบฤทธิ์การต้านอนุมูลอสิระ และสารประกอบฟีนอลิกรวมของเปลือกผลไม้. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 42(2)(พิเศษ), 385-388.

ประไพพิศ อินเสน. (2561). การยับยั้งกระบวนการสร้างเม็ดสีเมลานินจากพืชกลุ่มเบอร์รีไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 12(2), 69-82.

ศรีปาน เชยกลิ่นเทศ, ทศพร นามโฮง, และกลอยใจ เชยกลิ่นเทศ. (2556). ผลของการเตรียมเนื้อลําไย เงาะและลิ้นจี่ก่อนการอบแห่งด้วยไมโครเวฟรร่วมกับอินฟราเรดตามด้วยลมร้อนต่อปริมาณน้ําตาลและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ. วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ, 1(2), 115-127.

ศิริวรรณ แก้วเพ็ชร์, สุณีนุช คุ้มภัย, สุรัตน์ โหนา, และอลิษา โต๊ะและ. (2553). การศึกษาสารสกัดจากพืชในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุการเน่าเสียของเนื้อสัตว์. (รายงานการวิจัย). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

สุภาณี ฟ้ารุ่งสาง, และอนุศรา พิพัฒน์พิทยาสกุล. (2554). การพัฒนาเจลจากผลหว้าเพื่อใช้รักษาแผลในปาก. (ปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, คณะเภสัชศาสตร์.

Afify, A.M.R., Fayed, S.A., Shalaby, E.A.,& El-Shemy, H.A. (2011). Syzygium cumini (pomposia) active principles exhibit potent anticancer and antioxidant activities. Afr J Pharm Pharmacol, 5, 948-956.

Aramwit, P., Bang, N., & Srichana, T. (2010). The properties and stability of anthocyanins in mulberry fruits. Food Res Int, 43, 1093-1097.

Arash, M., Jinous, A., Parisa, S., & Mehrdad, F. (2015). Total phenolic and flavonoid content and antibacterial activity of Punica granatum L. var. pleniflora flowers (Golnar) against bacterial strains causing foodborne diseases. BMC Complement Altern, 15, 366.

Benherlal, P.S., & Arumughan, C. (2007). Chemical composition and in vitro antioxidant studies on Syzygium cumini fruit. J Sci Food Agric, 87, 2560-2569.

Borges, A., Ferreira, C., Saavedra, M.J., & Simoes, M. (2013). Antibacterial activity and mode of action of ferulic and gallic acids against pathogenic bacteria. Microb Drug Resis, 19(4), 256-65.

Jain, M.C., & Seshadri, T.R. (1975). Anthocyanins of Eugenia jambolana fruits. Indian J Chem, 3, 20-23.

Junlatat, J., Fangkrathok, N., & Sripanidkulchai, B. (2018). Antioxidative and melanin production inhibitory effects of Syzygium cumini extracts. Songklanakarin J. Sci. Technol, 40 (5), 1136-1143.

Kim, Y.J. (2007). Anti-melanogenic and antioxidant properties of gallic acid. Biol Pharm Bull, 30, 1052-1055.

Lewis, Y.S.,Dwarakanath, C.T.,& Johar, D.S. (1956). Acids and sugars in Eugenia jambolana. Journal of Scientific and Industrial Research, 15C, 280-281.

Rahman, M.M., & Hosin, M.M. (2007). Analysis of Vitamin C (ascorbic acid) Contents in Various Fruits and Vegetables by UV-spectrophotometry, Bangladesh. J Sci Ind Res, 42, 417-424.

Ramanuj, K., Bachani, P., & Kothari, V. (2012). In vitro antimicrobial activity of certain plant products / seed extracts against multidrug resistant Propionibacterium acnes, Malassezia furfur, and aflatoxin producing Aspergillus flavus. Research in Pharmacy, 2(3), 22-31.

Sanadi, R.M., & Deshmukh, R.S. (2020). The effect of Vitamin C on melanin pigmentation – A systematic review. Journal of Oral and Maxillofacial Pathology, 24(2), 374–382.

Santos, J., La, V.D., Bergeron, C., & Grenier, D. (2011). Inhibition of host- and bacteria-derived proteinases by natural anthocyanins. J Periodont Res, 46(5), 550-557.

Sapkota, K., Park, S.E., Kim, J.E., Kim, S., Choi, H.S., Chun, H.S., & Kim, S.J. (2010). Anti-oxidant and antimelanogenic properties of chestnut flower extract, Biosci Biotechnol Biochem, 74, 1527–1533.

Sari, P., Wijaya, C.H., Sajuthi, D., & Supratman, U. (2012). Color properties, stability, and free radical scavenging activity of jambolan (Syzygium cumini) fruit anthocyanins in a beverage model system: Natural and copigmented anthocyanins. Food Chem, 132, 1908-1914.

Sharma, S.R., Poddar, R., Sen, P., & Andrews, J.T. (2008). Effect of vitamin C on collagen biosynthesis and degree of birefringence in polarization sensitive optical coherence tomography (PS-OCT). African Journal of Biotechnology, 7(12), 2049-2054.

Singh, J., Shukla, R.K., & Walia, S. (2013). Sugar profile, total phenolic and antioxidant potential of anthocyanins rich Syzygium cumini fruit. NPAIJ, 9(9), 350-354.

Singleton, V.L., Orthofer, R. & Lamuela-Raventos, R.M. (1999). Analysis of total phenols and other oxidation substrates by means of Folin-Ciocalteu reagent, Methods in Enzymology, 299, 152–178.

Srisayam, M., & Chantawannakul, P. (2010). Antimicrobial and antioxidant properties of Thai honeys produced by Apis mellifera in Thailand. Journal of ApiProduct and ApiMedical Science, 2(2), 77-83.

Srisayam, M., Weerapreeyakul, N., Barusrux, S., & Kanokmedhakul, K. (2014). Antioxidant, antimelanogenic, and skin-protective effect of sesamol. Journal of cosmetic science, 65, 69-79.

Traber, M.G., & Stevens, J.F. (2011). Vitamins C and E: Beneficial effects from a mechanistic perspective. Free Radic Biol Med, 51(5), 1000–1013.

Utharalakshmi. N., Gayathri. S., Hansika. S., & Narendrakumar. G. (2020). Unlocking the Therapeutic Potential of Syzygium cumini Seeds Extract. Current Trends in Biotechnology and Pharmacy, 14 (4), 403-414.

Zhang, L.L., & Lin, Y.M. (2009). Antioxidant tannins from Syzygium cumini fruit. Afr. J. Biotechnol, 8, 2301–2309.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-24

How to Cite

ศรีษะแย้ม ม. . ., พึ่งแตง เ. . ., ศรีโสภา อ. . ., & โชตินาครินทร์ อ. . . (2022). ฤทธิ์ทางชีวภาพ ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก และวิตามินซี จากสารสกัดลูกหว้า . PSRU Journal of Science and Technology, 7(2), 103–113. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/Scipsru/article/view/248727

ฉบับ

บท

บทความวิจัย