การปลูกผักกวางตุ้งฮ่องเต้ไฮโดรโปนิกส์ โดยใช้แสงเทียมจากหลอดแอลอีดี

ผู้แต่ง

  • พีรวัจน์ มีสุข สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและระบบควบคุมอัตโนมัติ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • พรชัย พรหฤทัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและระบบควบคุมอัตโนมัติ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • พัฒนพล นิลประกอบกุล สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • อนุวัฒน์ วงวิลัย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

คำสำคัญ:

แสงอาทิตย์, แสงเทียม, ไฮโดรโปนิกส์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้นำเสนอการออกแบบและสร้างโรงเพาะปลูกพืชไฮโดรโปรนิกส์โดยทำการเปรียบเทียบการเจริญเติบโตระหว่างการใช้แสงอาทิตย์และการใช้แสงเทียมจากหลอดแอลอีดีสีแดงและสีน้ำเงินช่วงเวลากลางวัน มีระยะเวลาในการปลูกทั้งหมด 5 สัปดาห์ พืชที่นำมาทดสอบ คือ ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ ผลจากการทดสอบ พบว่า โรงเรือนปลูกผักกวางตุ้งฮ่องเต้ทั้งแบบใช้แสงอาทิตย์และใช้แสงเทียมมีการควบคุมถูกต้องตรงกับเครื่องมือวัดมาตรฐาน พืชที่ปลูกโดยใช้แสงเทียมแอลอีดี มีการเจริญเติบโตดีกว่าการปลูกพืชโดยใช้แสงอาทิตย์ เนื่องจากแสงอาทิตย์มีความเข้มแสงไม่คงที่และไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช เพราะสภาพอากาศมีการแปรปรวนทำให้พืชที่ปลูกเจริญเติบโตได้ไม่เต็มที่ ซึ่งการปลูกพืชโดยใช้การควบคุมหลอดแอลอีดีสามารถนำไปใช้ทดแทนแสงอาทิตย์สำหรับการปลูกพืชในช่วงที่มีแสงอาทิตย์น้อย

References

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2558). การปลูกพืชไฮโดรโปนิกส์. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2565, จาก https://esc.doae.go.th

คเชนทร์ แดงอุดม, ยอกร วันดี, วรรณวิสา ชาติแพงตา, พราวิณี บุญเรศ, และแสงเพชร บุญผาง. (2565). ผลของสเปกตรัมแสงต่อการงอกและการเจริเติบโของต้นกระบองเพชร. PSRU Journal of Science and Technology, 7(2), 114-125.

ชมดาว ขำจริง, อรุณี พลายแก้ว, และสมภพ วีสม. (2566). อิทธิพลของแสงสีจากหลอดไฟแอลอีดีที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดหอมพันธุ์แกรนด์แรปิดส์. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ, 6(1), 7-14.

ชัยวัฒน์ สากุล, และขจรศักดิ์ พงศ์ธนา. (2562). โรงเรือนแบบไฮโดรโปนิกส์ที่มีระบบการควบคุมแบบอัตโนมัติ โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์. วารสารวิจัย มทร. กรุงเทพ, 13(2), 65-77.

จูนลิฎา โยธาทิพย์, พาสินี สุนากร, และพัชรียา บุญกอแก้ว. (2553). การศึกษาการปลูกพืชภายในอาคารโดยใช้แสงประดิษฐ์. ใน การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 7 (น. 2007-2014). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

นภัทร วัจนเทพินทร์, และไชยยันต์ บุญมี. (2560). ไดโอดเปล่งแสงสีอะไรเหมาะสมกับการปลูกพืช?. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 25(1), 158-176.

ปัญญา มัฆะศร. (2552). เครื่องต้นแบบแหล่งกำเนิดแสงเทียมสำหรับการปลูกต้นไม้ด้วยระบบการควบคุมการเปิดและปิดแสงแบบอัตโนมัติ. ใน การประชุมวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติครั้งที่ 5: พลังงานทดแทนและความมั่นคงทางอาหารเพื่อมนุษยชาติ (น. 99-102). อุบลราชธานี.

สุริวรรณ มูลจันทร์, นิสา เหล็กสูงเนิน, สุวิมล อุทัยรัศมี, และบุญธิดา ม่วงศรีเมืองดี. (2560). ผลของความเข้มแสงต่อการเติบโตและตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของกล้าไม้ป่ายืนต้น. วารสารวนศาสตร์, 37(2), 18-30.

สุวรรณ ภู่เชย, ธนโชติ ทับชาวนา,กิตติพงษ์ มาตรักชาติ, และเดือนแรม แพ่งเกี่ยว(2563). ตู้ควบคุมการปลูกผักไฮ โดรโปนิกส์ด้วยแสงเทียมและเทคโนโลยีนาโนบับเบิ้ล. วารสารวิจัยเทคโนโลยีนวัตกรรม, 3(2), 1-10.

อภิชาติ ชิดบุรี, อนนท์ นำอิน, กริช แสนสุภา, และธีรวัฒน์ กลายเพศ. (2557). ผลของหลอดไดโอดเปล่งแสงร่วมกันสีน้ำเงิน/สีแดง/สีขาวที่มีต่อการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อยูคาลิปตัสในสภาพปลอดเชื้อ, ว.แก่นเกษตร, 42(พิเศษ 3), 409-414.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-19 — Updated on 2024-05-29

Versions

How to Cite

มีสุข พ. . ., พรหฤทัย พ. . ., นิลประกอบกุล พ. . ., & วงวิลัย อ. . . (2024). การปลูกผักกวางตุ้งฮ่องเต้ไฮโดรโปนิกส์ โดยใช้แสงเทียมจากหลอดแอลอีดี. PSRU Journal of Science and Technology, 9(1), 90–106. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/Scipsru/article/view/252217 (Original work published 19 เมษายน 2024)

ฉบับ

บท

บทความวิจัย