การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบกิจการ: บทบาทที่สำคัญเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ

การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบกิจการ: บทบาทที่สำคัญเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ

ผู้แต่ง

  • Sittichai singsu -

คำสำคัญ:

ความปลอดภัย, การส่งเสริมสุขภาพ, บทบาทเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ

บทคัดย่อ

บทความนี้ต้องการนำเสนอเรื่อง เกี่ยวกับบทบาทของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพในการส่งเสริมสุขภาพของพนักงานในสถานประกอบกิจการ เพื่อศึกษาบทบาทเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ เพื่อศึกษารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของพนักงานในสถานประกอบกิจการที่ดี เพื่อนำข้อมูลที่ได้ใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพที่ดีสำหรับพนักงานในสถานประกอบกิจการ

ผลการศึกษา พบว่า บทบาทเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพในการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยในการทำงานเป็นหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด โดยมีเป้าหมายให้พนักงานมีสุขภาพที่ดี และมีความปลอดภัย ปราศจากอันตราย สามารถป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานได้ การส่งเสริมสุขภาพที่ดีควรพิจราณาให้ครอบคุมใน 4 ด้าน ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพกาย จิตใจ สังคม และปัญญา อย่างมีความสมดุล โดยมีรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบกิจการซึ่งประกอบด้วย การมีนโยบายด้านสุขภาพและความปลอดภัยที่ชัดเจน กำหนดหน้าที่รับผิด กำหนดแผนงานด้านสุขภาพและความปลอดภัย การนำแผนงานไปปฏิบัติ การประเมินแผนงาน และการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาอย่างเนื่อง

References

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2549). สถานที่ทำงาน น่าอยู่ น่าทำงาน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:

สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. (2565). กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคล เพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ

พ.ศ. ๒๕๖๕ สืบค้นข้อมูล วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 , จากfile:///C:/Users/ACER/

Downloads/3368.pdf

กุนนที พุ่มสงวน. (2557). สุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ : บทบาทที่สำคัญของพยาบาล.วารสาร

พยาบาลทหารบก, 15(2), 86–90.

ชุลีพร หีตอักษร. (2560). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพผู้ประกอบการตลาดสดกอบกาญจน์ อ.

เมือง จ.สุราษฎร์ธานี. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 4 (ฉบับพิเศษ),

-101.

ดวงเนตร ธรรมกุล. (2555). การสร้างสุขภาวะในองค์กร. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 6(1), 1-9.

ประเวศ วะสี. (2543). สุขภาพในฐานะอุดมการณ์ของมนุษย์. สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ. นนทบุรี,

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

พนารัตน์ เจนจบ. (2563). การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชน

สู่ระบบสุขภาพอำเภอโดยใช้การมีส่วนร่วมของเครือข่ายพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 12(2), 277-290.

พรทิพย์ คนานต์ดำรง (2563). ผลของการสวดมนต์แบบออกเสียงต่อความเครียด และอัตราการหายใจของ

นักศึกษาชั้นปี ที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 29(5), 821-829.

พรบ.สุขภาพแห่งชาติ. (2550). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 124 ตอนที่ 16 ก ลงวันที่ 19 มี.ค. 2550. สืบค้น

ข้อมูล วันที่06 มกราคม 2564, จาก http://got know.org/blog/a-c-h-d/270241

วุฒิเดช ซึ้งจิตสิริโรจน. (2562). รูปแบบการดำเนินงานขององค์กรสุขภาวะต้นแบบในเขตภาคตะวันออก

ของประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยขอนแก่น. 3(1), 91-106.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2562). คู่มือวิชาการหลักสูตรแนวคิดและหลักการสร้าง

เสริมสุขภาพสำหรับ ภาคีเครือข่าย ส.ส.ส. สืบค้นวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2565 เข้าถึงได้จาก

file:///C:/Users/Admin/Downloads/54259f40-0d22-4b34-81ed-a23a4af301bf.pdf

สำนักงานที่ปรึกษากรมอนามัย. (2564). การสร้างเสริมสุขภาพคนทำงาน ในสถานประกอบการ. เข้าถึงได้

จาก สืบค้นวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2565http://advisor.anamai.

moph.go.th/main.php?filename=factory1

Center for Disease Control and Prevention. (2016). Workplace health model. Retrieved

February 8, 2022, from https://www.cdc.gov/workplacehealthpromotion/

model/index.html.

Burton, J. (2010). WHO Healthy Workplace Framework and Model: Background and

Supporting Literature and Practices. Submitted to Evelyn Kortum. (WHO Headquarters, Geneva, Switzerland February 2010).

Pons-Vigués, M., et. al. (2017). Health-care users, key community informants and primary

health care workers’ views on health, health promotion, health assets and deficits: qualitative study in seven Spanish regions. International journal for equity in health, 16(1), 1-16.

WHO. (1986). Ottawa Charter for Health Promotion. WHO. Geneva.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-01-19