การจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามความจำเป็น ทางด้านวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน ศ.ดร.ศุภชัย ปทุมนากุล1, รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน2, ดร.สุวมาลย์ ม่วงประเสริฐ2, จิร์ยาภรณ์ ศรีบุญรอด2 และ ผศ.ดร.สุภาภรณ์ ตั้งดำเนินสวัสดิ์2*
Main Article Content
บทคัดย่อ
โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ตรวจประเมินความสอดคล้องมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศเทียบกับมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2022 และการตรวจสอบช่องโหว่ทางเทคนิคของระบบปฏิบัติการและโปรแกรมแอพพลิเคชั่น บริษัท A และ2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ โดยมีวิธีการศึกษา 10 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย OpenVAS และแบบประเมินความพึงพอใจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือกลุ่มผู้ดูแลระบบ จำนวน 3 คน ได้มาด้วยวิธีการแบบเจาะจง ผลการศึกษาพบว่า ตอบวัตถุประสงค์ที่ 1 และผลจากการประเมินความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับดี ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.33 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนวัตกรรมวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ห้ามผู้ใดนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรจากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต นอกจากนี้ เนื้อหาที่ปรากฎในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
ศุภชัย ปทุมนากุล. (2566). ความจำเป็นด้านวิทยาศาสตร์กับการปรับบทบาทของการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี. เอกสารประกอบการบรรยาย โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาการ ดำเนินงานของหลักสูตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วันจันทร์ที่ 3 เมษายน 2566 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 และระบบ Zoom Meeting Application.
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2565). เกรียงไกร เธียรนุกุล ประธานสภาอุตสาหกรรมฯ วาระปี 2565-2567
ชูวิสัยทัศน์ “Strengthen Thai Industries for Stronger Thailand เสริมสร้างความ แข็งแกร่งให้อุตสาหกรรมไทย เพื่อประเทศไทยที่เข้มแข็งกว่าเดิม”. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2565, สืบค้นจากhttps://fti.or.th/2022/04/23/.
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ. (2566). ส่อง 6 หลักสูตร Sandbox
ล่าสุด! พร้อมปั้นกำลังคน ตอบโจทย์ประเทศ. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2565, สืบค้นจาก https://www.
nxpo.or.th/th/15515/.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2560). อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) แนวทางของ
อุตสาหกรรมแห่งอนาคต. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2565, สืบค้นจากhttps://www.nstda.or.th/
home/knowledge_post/industry-4-0/.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566-2570). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 139 ตอนพิเศษ 258 ง วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565. สำนักนายกรัฐมนตรี.
สุวมาลย์ ม่วงประเสริฐ, ศิโรจน์ ผลพันธิน, สุภาภรณ์ ตั้งดำเนินสวัสดิ์, และจิร์ยาภรณ์ ศรีบุญรอด. (2565).
ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนการสอนออนไลน์ในระดับอุดมศึกษา. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต. ปีที่ 18 ฉบับที 3: กันยายน - ธันวาคม 2565, หน้า 73-88.
Deloitte University Press. (2015). The Future of Manufacturing: Making Things in a Changing World.
A Report in the Future of the Business Landscape Series. Retrieved April 5, 2023 from https://www2.deloitte.com/content/dam/Deloitte/za/Documents/manufacturing/ZA_Future_of_Manufacturing_2015.pdf.
McKinsey Global Institute. (2017). A Future That Works: In Thailand, Technology and Automation areAffecting Core Sectors. Retrieved April 5, 2023 from https://www.mckinsey.com/~/media/
mckinsey/featured%20insights/digital%20disruption/harnessing%20automation%20for%20a%20future%20that%20works/mgi-a-future-that-works_full-report.pdf