เครื่องฟักไข่ไก่ควบคุมอุณหภูมิและกลับไข่ไก่อัตโนมัติ สุทธิพงษ์ มุลทาเย็น และ จิตสราญ สีกู่กา*
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและออกแบบตู้ควบคุม อุณหภูมิในการฟักไข่ไก่แบบกลับไข่อัตโนมัติเพื่อเป็นเครื่องมือ การฟักไข่เหมือนการฟักไข่ตามธรรมชาติเพื่อลดปัจจัยที่ทาให้ เกิดความเสี่ยงเกี่ยวกับการฟักไข่ธรรมชาติเช่น แม่ไก่ทิ้งรังไม่ ยอมฟักไข่การถูกสัตว์ขโมยไข่ในรัง การทับซ้อนมากเกินไป การ เสียหายจากการเหยียบไข่แตกของแม่ไก่ปัจจัยเหล่านี้ทาให้ ประสิทธิภาพในการฟักไข่ลดลง โดยตู้ฟักไข่อัตโนมัตินี้สามารถ ทาความร้อนเหมือนแม่ไก่ระบายอาศได้มีการพลิกไข่อัตโนมัติ สามารถจัดการเพิ่มและลดอุณหภูมิได้ตามความเหมาะสม โดย เครื่องมือที่ใช้พัฒนาได้แก่บอร์ด Arduino Uno ใช้ควบคุม ความชื้น อุณหภูมิและการพลิกไข่มีการใช้node esp8266 ใน การเก็บข้อมูลไปยังฐานข้อมูล และมีการแสดงผล ความชื้น อุณหภูมิการพลิกไข่วันที่เริ่มฟักไข่รายงานการฟักไข่ผ่านหน้า เว็บเพื่อความสะดวกในการติดตามและดูรายงานต่างๆของตู้ฟัก ไข่อุณหภูมิภายในตู้ฟักไข่แบบกลับไข่อัตโนมัติสามารถพลิกไข่ ได้อัตโนมัติโดยมุมของการพลิกไข่ที่เหมาะสมคือ 45 องศาจาก แนวดิ่งกลับไปมาและ พลิกทุกๆ 4 ชั่วโมง มีอุณหภูมิที่เหมาะสม เฉลี่ยอยู่ที่ 37.5 ºC อุณหภูมิแวดล้อม
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนวัตกรรมวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ห้ามผู้ใดนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรจากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต นอกจากนี้ เนื้อหาที่ปรากฎในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
ตู้ฟักไข่ตราไก่ไทย. (2562). อุณหภูมิความชื้นที่เหมาะสม. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2562 จากhttps://www.machine4biz.com/
ประภากร ธาราฉาย. (2562). การฟักไข่.การผลิตสัตว์ปีก. สืบค้น เมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2562 จากhttp://www.as.mju.ac.th/e-book/_praakorn
วิโรจน์ เอกวงศ์มั่นคง. (2554). การออกแบบระบบปรับ อากาศที่เหมาะสมสาหรับตู้ฟักไข่ที่ใช้ในอุตสาหกรรม. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://cuir.car.chula.ac.th/HANDLE/123456789
วิสุทธิ์ ลุมชะเนาว์ และ ณัฐวุฒิ พจน์ปริญญา. (2561). การพัฒนาเครื่องฟักไข่สาหรับการตรวจหาตัวอ่อนในไข่ไก่โดยใช้เทคนิคการประมวลผลภาพดิจิตอล. วารสารวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.(2018) 13(1), 151–165.
ศูนย์เครือข่ายวิจัยและพัฒนาด้านการปรับปรุงพันธ์สัตว์. (2562). ไก่พื้นเมือง. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์2562 จาก https://ncab.kku.ac.th/BROCHURES.
สมใจ อารยวัฒน์ ชิตติพนต์ ขุนใหญ่ และ ประภัสสร ทนาศรี.(2562). เครื่องฟักไข่อัตโนมัติ. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://ncteched.fte.kmutnb.ac.th./
สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน.(2562). การฟักไข่. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2562 จากhttp://kanchanapisek.or.th
สุภกิจ บัวสอด. (2562). ออกแบบและสร้างระบบควบคุม อุณหภูมิและความชื้นภายในตู้ฟักไข่. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2562 จาก https://firstjomza55.wordpress.com/.
อัสม๊ะ ลือมาสือนิ ลตีฟา สมานพิทักษ์ และ ซุลกิพลี กาซอ. (2560). การศึกษาและออกแบบตู้ควบคุมอุณหภูมิในการ ฟักไข่ไก่แบบกลับไข่อัตโนมัติ. วารสารวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีมรย. (2560) (1), 39–49.
Tufukkhai. (2562). การฟักไข่ด้วยตู้ฟัก. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://tufukkhai.blogspot.com/