การพยาบาลผู้ป่วยช็อกจากการติดเชื้อที่มีภาวะการหายใจล้มเหลวเฉียบพลันและไตวายเฉียบพลัน

ผู้แต่ง

  • ปานจิต นามพลกรัง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
  • สิริลักษณ์ สุทธรัตนกุล คณะพยาบาลศาสตร์ กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จังหวัดนครราชสีมา

คำสำคัญ:

ภาวะช็อคจากการติดเชื้อ, ภาวะการหายใจล้มเหลว, ไตวายเฉียบพลัน

บทคัดย่อ

ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ เป็นภาวะที่พบในผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งมีการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิต เนื้อเยื่อ และระบบเผาผลาญผิดปกติ ส่งผลให้การทำงานของอวัยวะสำคัญในร่างกายทำงานผิดปกติ จนเกิดภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ และเสียชีวิตลงได้  โดยเฉพาะผู้ป่วยช็อกจากการติดเชื้อที่มีภาวะการหายใจล้มเหลวและไตวายเฉียบพลันร่วมด้วย จะมีอัตราการเสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้น การปฏิบัติตามแนวทางการรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดและช็อกจากการติดเชื้อของ The Surviving Sepsis Campaign (SSC) Guidelines ที่เป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวินิจฉัยผู้ป่วยได้ตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก และการรักษาอย่างรวดเร็วด้วยยาต้านจุลชีพภายใน 1 ชั่วโมงหลังการวินิจฉัย เป็นสิ่งที่ช่วยลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยลงได้  หากบุคลากรทีมสุขภาพขาดความรู้เกี่ยวกับแนวทางการรักษาที่เป็นปัจจุบัน อาจจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีภาวะการเจ็บป่วยที่รุนแรงมากขึ้น และเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ดังนั้นพยาบาลผู้ดูแลซึ่งเป็นหนึ่งในบุคลากรทีมสุขภาพ จึงจำเป็นต้องมีความรู้  ทักษะ และให้ความสำคัญกับการพยาบาลตามแนวทางการรักษาที่เป็นปัจจุบัน เพื่อให้การดูแลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะช็อกจากการติดเชื้อโดยเร็วลดความทุกข์ทรมาน ความทุพลภาพจากการเจ็บป่วย และลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยลงได้

Author Biography

ปานจิต นามพลกรัง, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

วริศรา  ปั่นทองหลาง  ปานจิต  นามพลกรัง  และวินัฏ  ดวงแสนจันทร์. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์,38(4), 32-42.

ปานจิต  นามพลกรัง. (2556).  บทความวิชาการเรื่อง การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ.เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ปี พ.ศ. 2556. 1-12.    

ปานจิต  นามพลกรัง และปวีณา ระบำโพธิ์.  (2556).  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ในเขตจังหวัดนครราชสีมา.  วารสารพยาบาล,  62(1), 109-117. 

ปานจิต  นามพลกรัง. (2554). การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1. นครราชสีมา: สมบูรณ์การพิมพ์.

ปานจิต  นามพลกรัง.  (2553).  บทบาทพยาบาลพี่เลี้ยง. วารสารมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. ISSN 0858-1894. เมษายน – สิงหาคม 2553.

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2563). Healthkpi. เข้าถึงได้จาก http://healthkpi.moph. go.th/kpi2/kpi/index/?id=1448

กิ่งกาญจน์ หาญลำยวง. (2563). การวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเสียชีวิตของผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis) ใน โรงพยาบาลปากเกร็ด. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 10(1), 108-117.

คณะอนุกรรมการกำหนดแนวทางการรักษาด้วยการฟอกเลือดและการกรองพลาสมาสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. (2561). คู่มือการรักษาด้วยการฟอกเลือดและการกรองพลาสมาสำหรับผู้ป่วยโรคไต. เข้าถึงได้จาก ttps://www.nephrothai.org/wp-content/uploads/2020/08/คู่มือการฟอกเลือด_e-book_final.pdf

ฑิตยา วาระนัง. (2562). ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต โรงพยาบาลฝาง จังหวัดเชียงใหม่ [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. เชียงรายเวชสาร, 11(1), 1-8.

นิตยา ภิญโญคำ และจิราภรณ์ เตชะอุดมเดช. (2560). การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อก. ในประทุม สร้อยวงค์ (บรรณาธิการ), การพยาบาลอายุรศาสตร์ (หน้า 147-159). เชียงใหม่: สมาร์ทโค๊ทติ้ง แอนด์ เซอร์วิส.

นนทรัตน์ จำเริญวงศ์, สุพรรณิการ์ ปิยะรักษ์ และ ชยธิดา ไชยวงษ์. (2563). การประเมินและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกจาก การติดเชื้อในกระแสเลือด [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 7(1), 319-330.

ปรีชา ธำรงไพโรจน์. (2562). การใช้เครื่องช่วยหายใจอย่างเหมาะสมในภาวะเซพซิส. ในระวีวรรณ เลิศวัฒนารักษ์, มณฑิรา มณีรัตนะพร, สุรัตน์ ทองอยู่ และ นัฐพล ฤทธิ์ทยมัย (บรรณาธิการ), อายุรศาสตร์ทันยุค 2562 (หน้า 81-90). กรุงเทพฯ: พริ้นท์เอเบิ้ล.

ยุพดี ธัมมิกะกุล. (2563). ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลการบันทึกสัญญาณเตือนภาวะวิกฤติในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือด แผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, 3(1), 31-46.

ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านยาโรงพยาบาลมหาราช. (2561). คู่มือการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง. เข้าถึงได้จาก http://pharm.mnrh.go.th

สมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย. (2558). แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วย severe sepsis และseptic shock (ฉบับร่าง) พ.ศ. 2558. สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2564, จาก http://www.ayhosp.go.th

สุกัญญา ชัชวาลย์. (2558). การพยาบาลผู้ป่วยช็อกจากการติดเชื้อและมีภาวะการหายใจล้มเหลว [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. วารสาร โรงพยาบาลมหาสารคาม, 12(2), 135-142.

สุจิตรา ลิ้มอำนวยลาภ. (2556). ภาวะเจ็บป่วยวิกฤตและการพยาบาล. ในสุจิตรา ลิ้มอำนวยลาภ และชวนพิศ ทำนอง (บรรณาธิการ), การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะเจ็บป่วยวิกฤต (หน้า 1-27). ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.

แสงสม เพิ่มพูน. (กรกฎาคม, 2563). การพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตที่มีภาวะช็อค (septic shock) [Paper presentation], งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, นครปฐม, ประเทศไทย.

Banasik, J. L. (2010). Shock. In Copstead, L.C. & Banasik, J. L. (Eds.), Athophysiology (pp. 488-506). Canada: Elsevier Inc.

Capan, M., Hoover, S., Ivy, J. S., Miller, K. E., & Arnold, R. (2018). Not all organ dysfunctions are created equal-prevalence and mortality in sepsis. Journal of Critical Care, 48, 257-262. doi:10.1016/j.jcrc.2018. 08.021

Dellinger, R. P., Levy, M.M., Rhodes, A., Annane, D., Gerlach, H., Opal, S.M………, Moreno, R. (2012). Surviving Sepsis Campaign: International guidelines for management of severe sepsis and septic shock, 2012. Intensive Care Medicine, 41, 580-637. Retrieved from https://www.esicm.org

Dugar, S., Choudhary, C., & Duggal, A. (2020). Sepsis and septic shock: Guideline-based management. Cleveland Clinic Journal of Medicine, 87(1), 53-64. Retrieved from https://www.ccjm.org/content/87/1/53

Evans, A., Rhodes, A., Alhazzani, W., Antonelli, M., Coopersmith, C. M., French, C. ……, Dellinger, R. P. (2021). Surviving Sepsis Campaign: International guidelines for management of sepsis and septic shock 2021. Critical Care Medicine, 49(11), e1063-e1143. Retrieved from https://www.ccmjournal.org

Levy, M. M., Evans, L. E., & Rhodes, A. (2018). The Surviving Sepsis Campaign Bundle: 2018 update. Critical Care Medicine, 46(6), 997-1000. Retrieved from https://www.ccmjournal.org

Mathukia, C., Fan, W., Vadyak, K., Biege, C., & Krishnamurthy, M. (2015). Modified early warning system improves patient safety and clinical outcomes in an academic community hospital. Journal of Community Hospital Internal Medicine Perspectives, 5(2), 26716. Retrieved from http://dx.doi.org/10.3402/jchimp.v5.26716

Mohr, N. M., Wessman, B. T., Bassin, B., Elie-Turenne, M., Ellender, T., Emlet, L. L…, Rudy, S. (2020). Boarding of

critically ill patients in the emergency department. Journal of the American College of Emergency Physicians Open, 1, 423–431.doi: 10.1002/emp2.12107

Rhodes, A., Evans, L. E., Alhazzani, W., Levy, M. M., Antonelli, M., Ferrer, R.,………, Dellinger, R. P. (2017). Surviving Sepsis Campaign: International guidelines for management of sepsis and septic shock: 2016. Critical Care Medicine, 45(3), 486-552. doi:10.1097/CCM. 0000000000002255

Royal college of physicians. (2012). National early warning score (NEWS): Standardising the assessment of acute-illness severity in the NHS. London: TU ink limited. Retrieved from https://www. rcplondon.ac.uk

Seymour, C. W., Gesten, F., Prescott, H. C., Friedrich, M. E., Iwashyna, T. J., Phillips, G. S…., Levy, M. M. (2017). Time to treatment and mortality during mandated emergency care for sepsis. New England Journal of Medicine, 376(23), 2235-2244. Retrieved from https://www.nejm.org/doi/full/10.1056/nejmoa170305825. Singer, M., Deutschman, C. S., Seymour, C. W., Shanker-Hari, M., Annan, D., Bauer, M…., Angus, D.C. (2016). The third international consensus definitions for sepsis and septic shock (Sepsis-3). Journal of the American Medical Association, 315(8), 801-810. Retrieved from https://jamanetwork.com/journals/jama/fullarticle/2492881

Subbe, C. P., Kruger, M., Rutherford, P., & Gemmel, L. (2001). Validation of a Modified early warning score in medical admissions. Quarterly Journal of Medicine, 94(10), 521-526. Retrieved from https://doi.org/10.1093/qjmmed/94.10.521

Thompson, K., Venkatesh, B., & Finfer, S. (2019). Sepsis and septic shock: current approaches to management. Internal Medicine Journal, 49, 160-170. Retrieved from https://onlinelibrary.wiley.com/doi/pdfdirect/10.1111/imj.14199

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-27

How to Cite

นามพลกรัง ป., & สุทธรัตนกุล ส. (2021). การพยาบาลผู้ป่วยช็อกจากการติดเชื้อที่มีภาวะการหายใจล้มเหลวเฉียบพลันและไตวายเฉียบพลัน. วารสารมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล, 34(2), 1–15. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/vujournal/article/view/245221

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ