การประยุกต ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อกำหนดพื้นที่เสี่ยงภัยทางทหารในจังหวัดยะลา
Keywords:
พื้นที่เสี่ยงภัยทางทหาร, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร, military risk area, geographic information system, analytic hierarchy processAbstract
บทคัดย่อ
การวิจัยมีจุดมุ่งหมายประยุกตใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อกำหนดพื้นที่เสี่ยงภัยทางทหารในจังหวัดยะลา โดยใช้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการวิเคราะห์ ได้แก่ ระยะห่างเส้นทางคมนาคม ระยะห่างชุมชนไทยมุสลิมระยะห่างชุมชนไทยพุทธ ระยะห่างวัด ระยะห่างมัสยิด ระยะห่างโรงเรียน และระยะห่างสถานที่ราชการ โดยใช้กระบวนการวิเคราะหตามลำดับชั้นเพื่อหาค่าความสำคัญของปัจจัย และนำข้อมูลมาซ่อนทับกันตามเงื่อนไขเพื่อกำหนดพื้นที่เสี่ยงภัยทางทหาร ผลการศึกษา พบว่า พื้นที่เสี่ยงภัยทางทหารระดับสูงในจังหวัดยะลา มีพื้นที่ 8.25ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 0.19 ของพื้นที่ศึกษา ส่วนใหญ่พบอยู่บริเวณอำเภอเมือง โดยเฉพาะเทศบาลเมืองยะลาซึ่งเป็นบริเวณที่มีประชากรหนาแน่นและเป็นศูนยกลางทางเศรษฐกิจของจังหวัดยะลา นอกจากนี้พื้นที่ซึ่งมีเส่นทางการคมนาคม และสถานที่สำคัญต่างๆ อยู่จำนวนมาก ก็เป็นพื้นที่เสี่ยงภัยทางทหารระดับสูงเช่นกันผลการวิจัยสามารถใช้เป็นข้อมูลช่วยในการตัดสินใจของผู้บังคับหน่วยเพื่อกำหนดพื้นที่เสี่ยงภัยทางทหารในจังหวัดยะลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปประยุกตใช้ในพื้นที่อื่นๆ ได้ต้อไปในอนาคต
คำสำคัญ : พื้นที่เสี่ยงภัยทางทหาร; ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์; กระบวนการวิเคราะหตามลำดับชั้น
Abstract
The objective of this research was to apply Geographic Information System to identify militaryrisk areas in Yala province. Various factors were applied in this research including the distance fromroad networks, communities, temples, mosques, schools and government offices. The analytic hierarchyprocess was used to calculate the weighting value of each factor. The overlay technique was used todefine the military risk areas. The results showed 8.25 square kilometers were classified as high riskareas or 0.19 per cent of the studied area. Mostly, these areas were located in Muang district especiallyin the municipal areas. In addition, the areas, which have high density of transportation networks andlocal landmarks, were considered as potentially high risk areas. The results can be used as baselinedata for military action in Yala province. This analysis process can be applied to other areas in thefuture.
keywords : military risk area; geographic information system; analytic hierarchy process
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
Each article is copyrighted © by its author(s) and is published under license from the author(s).