การออกแบบผลิตภัณฑ์ชุดโซฟาจากไม้ไผ่โดยการประยุกต์ใช้เทคนิค การแปลงหน้าที่เชิงคุณภาพร่วมกับวิศวกรรมคันเซ

ผู้แต่ง

  • สุรสิทธิ์ ระวังวงศ์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  • จุฬาลักษณ์ โรจนานุกูล สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  • ชาตรี หอมเขียว สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  • อภิชล ทองมั่ง สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

คำสำคัญ:

การออกแบบผลิตภัณฑ์, การแปลงหน้าที่เชิงคุณภาพ, วิศวกรรมคันเซ, ไม้ไผ่, ชุดโซฟา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้เทคนิคการแปลงหน้าที่เชิงคุณภาพร่วมกับวิศวกรรมคันเซสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุดโซฟาจากไม้ไผ่ที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น โดยผลการวิจัยสามารถช่วยยกระดับผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นและเพิ่มกลยุทธ์ทางการตลาดให้กับกลุ่มผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ไผ่ในตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา งานวิจัยนี้ได้รวมเอาความต้องการของลูกค้าเข้าไว้ในการวิเคราะห์ 2 เมทริกซ์ของเทคนิคการแปลงหน้าที่เชิงคุณภาพ คือ การวางแผนผลิตภัณฑ์และการแปลงการออกแบบ เทคนิควิศวกรรมคันเซถูกนำมาใช้เพื่อวิเคราะห์อารมณ์ และความรู้สึกของลูกค้าที่มีผลต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ ผลการวิเคราะห์ พบว่า ผลิตภัณฑ์ชุดโซฟาจากไม้ไผ่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านรูปแบบ วัสดุ ความสะดวก คุณภาพ และการตลาด ซึ่งมีความสอดคล้องกับความรู้สึกและความต้องการของลูกค้า นอกจากนี้ จากการประยุกต์ใช้วิศวกรรมคันเซ พบว่า คำแสดงความรู้สึกที่ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุดโซฟาจากไม้ไผ่ ประกอบด้วย 3 คำหลัก ๆ คือ เรียบง่าย สร้างสรรค์ และสวยงาม โดยมีค่าคะแนนความพึงพอใจในคุณลักษณะด้านรูปทรงหลากหลายและมีจุดเด่นมากที่สุดอยู่ในระดับดีมากและมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.71 และมีค่าคะแนนความพึงพอใจในคุณลักษณะด้านการใช้วัสดุจากธรรมชาติและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเป็นอันดับสอง มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.68

References

A. Pinta and A. Kengpol, “The Improvement of Product by Using Quality Function Deployment (QFD) Technique: A Case Study of an Educational Wood Toy Factory,” The Journal of KMITNB, vol. 13, no. 4, pp. 36–42, 2003 (in Thai).

C. Sritong and O. Sritong, “Product Development Using Quality Function Deployment (QFD) in Furniture Industry: A Case Study of Office Chair Design,” Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science), vol. 6, no. 2, pp. 111–124, 2016 (in Thai).

R. Sinthavalai, P. Boonchu, and S. Polmai, “An Application of House of Quality (HOQ) in Improving a Package of Medical Equipment,” The Journal of KMUTNB, vol. 26, no. 3, pp. 437–450, 2016, doi: 10.14416/j.kmutnb.2015.11.001. (in Thai)

S. Achmad, and I. Taufiq, “Design of Innovative Alarm Clock Made from Bamboo with Kansei Engineering Approach,” Agriculture and Agricultural Science Procedia. vol.3, pp. 184–188, 2015, doi: 10.1016/j.aaspro.2015.01.036.

K. Prayoonwong, “Application of Kansei Engineering for New Product Development: Conceptual Wardrobe Product Design,” M.E. Thesis, Dept. Ind. Eng., King Mongkut's University of Technology North Bangkok, Bangkok, Thailand, 2012.

B. G. Dale, “Quality Function Deployment,” in Managing Quality, 4th ed. Oxford: UK: Blackwell Publishers, 1999, ch. 17, sec. 3, pp.349–366.

C. Sritong and O. Sritong, “The Application of Quality Function Deployment to Purpose Supplementary Approaches for Providing Services of Small Clinics in Bangkok and Perimeter Area for Business Survival,” Journal of Business, Economics and Communications, vol.17, no.1, pp.43–55, 2022.

S. Trongpanich and A. Kengpol, “The Improvement of Quality in the Service of Logistics Business by Using Quality Function Deployment and Analytic Hierarchy Process Techniques: A Case Study of Battery Logistics,” The Journal of KMITNB. vol. 17, no. 3, pp. 47–56, 2007.

O. Adiyanto, H. A. Jatmiko, Erni, “Development Of Food Packaging Design With Kansei Engineering Approach,” International Journal of Scientific & Technology Research. vol.8, no.12, pp.1771–1780, 2019.

M. Nagamachi, “Kansei Engineering as a Powerful Consumer-oriented Technology for Product Development,” Applied Ergonomics, vol. 33, no. 3, pp. 289–294, 2002, doi: 10.1016/S0003-6870(02)00019-4.

S. Schutte, “Designing Feelings into Products: Integrating Kansei Engineering Methodology in Product Development,” Ph.D. Thesis, Dept. Mgmt. Eng., Linköping university; Linköping, Sweden, 2002.

R. Sinthavalai, and S. Ruengrong, “An Application of House of Quality (HOQ) for Designing Rice Product as a Souvenir,” Naresuan University Journal: Science and Technology, vol. 26, no. 3, pp. 36–51, 2018. (in Thai)

N. O. Erdil and O. M. Arani, “Quality Function Deployment: More than a Design Tool,” International Journal of Quality and Service Sciences, vol. 11, no. 2, pp. 142–166, doi: 10.1108/IJQSS-02-2018-0008.

L. K. Chan, and M. L. Wu, “Quality Function Deployment: A Comprehensive Review of its Concepts and Methods,” Quality Engineering, vol. 15, no. 1, pp. 23–35, 2002, doi: 10.1081/QEN-120006708.

T. Pirom, S. Rawangwong, A. Thongkamkaew, and C. Hutyee, “Designand Developed Product the Kindergarten Classroom Furniture with Rubber Wood Using Quality Function Development,” The Journal of Industrial Technology, vol.15, no. 3, pp. 76–92, 2019. (in Thai)

C. Homkhiew, T. Ratanawilai, and K. Pochana, “Application of a Quality Function Deployment Technique to Design and Develop Furniture Products,” Songklanakarin Journal of Science. Technology, vol. 34, no. 6, pp. 663–668, 2012.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-29

How to Cite

[1]
ระวังวงศ์ ส. ., โรจนานุกูล จ. . ., หอมเขียว ช., และ ทองมั่ง อ. ., “การออกแบบผลิตภัณฑ์ชุดโซฟาจากไม้ไผ่โดยการประยุกต์ใช้เทคนิค การแปลงหน้าที่เชิงคุณภาพร่วมกับวิศวกรรมคันเซ ”, Eng. & Technol. Horiz., ปี 39, ฉบับที่ 3, น. 11–28, ก.ย. 2022.