การจัดเส้นทางขนส่งสำหรับปัญหาการรับและส่งมอบในระบบจักรยานเช่าสาธารณะ: กรณีศึกษาระบบจักรยานเช่าสาธารณะ จังหวัดเชียงใหม่
คำสำคัญ:
การจัดเส้นทางการขนส่ง, จักรยานเช่าสาธารณะ, ปัญหาการรับและการส่งมอบ, การปรับสมดุลจำนวนจักรยานบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้นำเสนอการจัดเส้นทางการขนส่งสำหรับปัญหาการรับและส่งมอบในระบบจักรยานเช่าสาธารณะ กรณีศึกษาระบบจักรยานเช่าสาธารณะ จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อกำหนดเส้นทางการขนส่งจักรยานเช่าสาธารณะจากศูนย์กระจายจักรยานไปยังสถานีปลายทาง 12 สถานี โดยมีวัตถุประสงค์ของงานวิจัยทั้งหมด 2 ประการ ได้แก่ เพื่อให้มีระยะทางรวมที่สั้นที่สุด และหาความจุยานพาหนะที่ใช้ในการบรรทุกจักรยานที่เหมาะสม เนื่องจากค่าขนส่งเป็นต้นทุนหลักในการกระจายจักรยาน เพราะฉะนั้นการจัดเส้นทางการขนส่งจักรยานจึงเป็นสิ่งสำคัญ ทางผู้วิจัยจึงได้ศึกษาปัญหาการจัดเส้นทางการขนส่งในลักษณะที่มีทั้งการรับและส่งมอบ โดยพิจารณาเส้นทางการขนส่งในปัจจุบันเทียบกับเส้นทางการขนส่งจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ พบว่าหากทำการขนส่งตามเส้นทางที่ได้จากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์จะสามารถลดระยะทางการขนส่งได้ 6.33 กิโลเมตรต่อรอบ แต่หากเปลี่ยนยานพาหนะชนิดใหม่ที่มีความจุจักรยานยานลดลงจากพาหนะปัจจุบัน จะสามารถลดระยะทางลงได้ 4.83 กิโลเมตรต่อรอบ ด้วยการปรับขนาดของยานพาหนะที่บรรทุกของจักรยานผู้ให้บริการจะสามารถเปรียบเทียบอัตราการสิ้นเปลืองและค่าใช้จ่ายอื่นๆเพิ่มเติมได้
References
P. Demaio, “Bike-sharing: History, Impacts, Models of Provision, and Future,” Journal of Public Transportation, vol. 12, no. 4, pp. 41–56, 2009, doi: 10.5038/2375-0901.12.4.3.
P. Demaio. “Bike-shairing World Map.” http://bike sharing.blogspot.com/2021/10/the-meddin-bike-sharing-world-map-mid.html (accessed Jul. 29, 2020)
J. C. García-Palomares, J. Gutiérrez and M. Latorre, “Optimizing the location of stations in bike-sharing programs: A GIS approach,” Applied Geography, vol. 35, no. 1–2, pp. 235–246, 2012, doi: 10.1016/j.apgeog.2012.07.002.
P. Midgley, “The role of smart bike-sharing systems in urban mobility,” Journeys, vol 2, pp. 23–31, 2009.
H. Sayarshad, S. Tavassoli and F. Zhao, “A multi-periodic optimization formulation for bike planning and bike utilization,” Applied Mathematical Modelling, vol. 36, no.10, pp. 4944–4951, 2012, doi: 10.1016/j.apm.2011.12.032.
T. Raviv, M. Tzur and I. A. Forma, “Static repositioning in a bike-sharing system: models and solution approaches,” EURO Journal on Transportation and Logistics, vol. 2, pp. 187–229, 2013, doi: 10.1007/s13676-012-0017-6.
S. C. Ho and W. Szeto, “Solving a static repositioning problem in bike-sharing systems using iterated tabu search,” Transportation Research Part E: Logistics and Transportation Review, vol. 69, pp. 180–198, 2014, doi: 10.1016/j.tre.2014.05.017.
P. Vogel, B. A. N. Saavedra and D. C. Mattfeld, “A Hybrid Metaheuristic to Solve the Resource Allocation Problem in Bike Sharing Systems,” in 9th International Workshop, Hamburg, Germany, 2014, pp. 16–29, doi: 10.1007/978-3-319-07644-7_2.
N. Wichapa, T. Sudsuansee and P. Khokhajaikiat, “Solving the Vehicle Routing Problems with Time Windows Using Hybrid Genetic Algorithm with Push Forward Insertion Heuristic and Local Search Procedure” The Journal of KMUTNB, vol. 29, no. 1, pp.4–13, 2019.
L. Shi, Y. Zhang, W. Rui and X. Yang, “Study on the bike-sharing inventory rebalancing and vehicle routing for bike-sharing system,” Transportation Research Procedia, vol. 39, pp. 624–633, 2019, doi: 10.1016/j.trpro.2019.06.064.
J. Schuijbroek, R. C. Hampshire and W.-J. van Hoeve, “Inventory rebalancing and vehicle routing in Bike Sharing Systems,” European Journal of Operational Research, vol. 257, no. 3, pp. 992–1004, 2017, doi: 10.1016/j.ejor.2016.08.029.
M. Dellamico, E. Hadjicostantinou, M. Iori and S. Novellani, “The bike sharing rebalancing problem: Mathematical formulations and benchmark instances,” Omega, vol. 45, pp. 7–19, 2014, doi: 10.1016/j.omega.2013.12.001.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว