การประยุกต์รูปแบบความล้มเหลวและการวิเคราะห์ผลกระทบเพื่อลดของเสียในกระบวนการผลิตเสาไฟฟ้า

ผู้แต่ง

  • กิตติชัย อธิกุลรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • ศิรัตน์ แจ้งรักษ์สกุล หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • เจษฎา พลายชุมพล สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 สุพรรณบุรี กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน ไผ่ขวาง

คำสำคัญ:

ของเสีย, รูปแบบความล้มเหลวและการวิเคราะห์ผลกระทบ, ค่าความเสี่ยงชี้นำ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดของเสียในกระบวนการผลิตเสาไฟฟ้า โดยประยุกต์รูปแบบความล้มเหลวและการวิเคราะห์ผลกระทบ เพื่อศึกษารูปแบบความล้มเหลวของผลิตภัณฑ์ พร้อมกับประเมินผลกระทบจากความล้มเหลว สาเหตุของความล้มเหลว รวมถึงความสามารถในการตรวจจับการความล้มเหลว เพื่อคำนวณเป็นค่าความเสี่ยงชี้นำ ผลการคำนวณพบว่าค่าความเสี่ยงชี้นำสูงที่สุดคือ 75 คือ ผลิตภัณฑ์มีความล้มเหลวจากการแตกร้าว และเป็นครีบ จึงได้ทำการวิเคราะห์เพื่อกำหนดมาตรการการปรับปรุง โดยการฝึกอบเพิ่มความรู้ในการตัดลวด และประยุกต์ใช้การควบคุมด้วยสายตาเพื่อให้พนักงานประกอบแบบให้สนิทในจุดที่เน้น ผลการปรับปรุงทำให้ของเสียลดลงร้อยละ 11.93 พร้อมกับค่าความเสี่ยงชี้นำลดลงเหลือ 20 และ 12

References

Electronic has no legs, and the energy path of opportunity and happiness. EGAT, (2021, June 15). [Online].Available:http//www.egat.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=3535:20200624art01&catid=49&Itemid=251

K. Athikulrat and K. Dolpanya, “Defective Reduction in Production Process of Plastic films,” Science and Technology Nakhon Sawan Rajabhat Univesity Journal, vol. 11, no. 13, pp.41–50, 2018.

K. Athikulrat and S.Yindeemorh, “Application of Six Sigma to Reduce Waste from Wire Spokes Production Process: A Case Study on Motorcycle Parts Factory,” Research and Development KMUTT, vol. 43, no. 2, pp. 277–296, 2020.

K. Athikulrat and S. Jangruxsakul, “Application of Six Sigma to Reduction of waste in Production : Case Study of Metal Plating Factory, ” MUT Journal of Business Administration Review, vol. 9, No. 2, pp. 1–11, 2019.

K. D. Shama and S. Srivastava, “Failure mode and effect analysis (FMEA) implementation : a literature review.” Journal of Advance Research in Aeronautics and Space Science, vol.5, no. 1–2, pp. 1–17, 2018.

R. Thakore, R. Dave and T. Pasana, “A Case Study: A Process FMEA Tool to Enhance Quality and Efficiency of Bearing Manufacturing Industry,” Scholars Journal of Engineering and Technology, vol.3, no. 4B, pp. 413–418, 2015.

H. C. Lui., X. Q. Chen, C. Y. Duan and Y. M. Wang, “Failure Mode and Effect analysis using multi-Criteria decision Making method: A Systematic Literature Review,” Computer and Industrial Engineering, vol. 135, pp. 881–897, 2020, doi: 10.1016/j.cie.2019.06.055.

A.P., Subriadi and N. F. Najwa, “The Consistency analysis of Failure mode and Effect Analysis (FMEA) in Information Technology risk assessment,” Heliyon, vol. 6, pp. 1–12, 2020, doi: 10.1016/j.heliyon.2020.e03161

Y. Suthikasaneethon, “A Defect Reduction in a Sline Bottle Blow Moulding and Extrusion Process,” M. E. Thesis, Dept. Env. Eng., Sripatum Univ., Bangkok, Thailand , 2017.

C. Jaison, “Waste Reduction of Semi-Automatic Head Stack Assembly Machine In the Hard Disk Drive Production, ” M.E. Thesis, Dept. Indus. Eng., Thammasat Univ., Bangkok, Thailand, 2017.

T. Sansingchai and P. Mata, “Reducing Waste of Machienery Spare Parts Production Line,” B.E. Project, Dept. Indus. Eng., Chaing Mai Univ., Chaing Mai, Thailand, 2019.

P. Georgi, K. L. Bruce and H. C. Bruce. “Severity of Consequence and Likelihood of Occurrence,” Risk Assessment : A Practical Guide Assessing Operational Risk, 1th ed. Hoboken, New Jersey, John Wiley & Sons, Inc., 2016, ch 4, sec 4.10–4.11, pp.76–78.

เผยแพร่แล้ว

2021-09-28

How to Cite

[1]
อธิกุลรัตน์ ก., แจ้งรักษ์สกุล ศ. ., และ พลายชุมพล เ. ., “การประยุกต์รูปแบบความล้มเหลวและการวิเคราะห์ผลกระทบเพื่อลดของเสียในกระบวนการผลิตเสาไฟฟ้า”, Eng. & Technol. Horiz., ปี 38, ฉบับที่ 3, น. 63–76, ก.ย. 2021.