การปรับปรุงคุณภาพไฟฟ้าโดยอาศัยหม้อแปลงไฟฟ้าเลื่อนเฟส 15 องศาสำหรับวงจรเรียงกระแส 24 พัลส์
คำสำคัญ:
วงจรเรียงกระแส, หม้อแปลงไฟฟ้าเลื่อนเฟส, คุณภาพไฟฟ้า, ฮาร์มอนิกบทคัดย่อ
วงจรเรียงกระแสเป็นโหลดไม่เชิงเส้นชนิดหนึ่งที่ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในภาคอุตสาหกรรมเนื่องจากเป็นวงจรส่วนหน้าของอินเวอร์เตอร์ในระบบขับเคลื่อนมอเตอร์ วงจรเรียงกระแสนี้จะมีค่ากระแสฮาร์มอนิกส์และค่าระลอกแรงดันด้านออกสูงทำให้มีผลกับคุณภาพไฟฟ้าในระบบไฟฟ้ากำลัง บทความนี้นำเสนอการปรับปรุงคุณภาพไฟฟ้าโดยอาศัยหม้อแปลงไฟฟ้าเลื่อนเฟสสำหรับวงจรเรียงกระแส ในบทความได้ประยุกต์ใช้หม้อแปลงเลื่อนเฟส 15 องศาสำหรับวงจรเรียงกระแส 24 พัลส์ เพื่อลดกระแสฮาร์มอนิกและค่าระลอกของแรงดันด้านออก นอกจากนั้นยังได้แสดงการวิเคราะห์มุมเฟสของหม้อแปลงต่อการลดค่ากระแสฮาร์มอนิกในแต่ละลำดับทั้งด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิอย่างชัดเจน ผลการจำลองและการทดลองแสดงให้เห็นว่าวิธีการที่นำเสนอสามารถลดกระแสฮาร์มอนิกได้ต่ำกว่า 5% และค่าระลอกของแรงดันน้อยกว่า 0.5% โดยไม่ใช้ตัวเก็บประจุเป็นวงจรกรอง
References
[2] T.C. Sekar, B.J. Rabi, “A Review and Study of Harmonic Mitigation Techniques,” in Proc. of ICETEEEM-2012, IEEE, pp. 93-97, 2012.
[3] B. Singh, S. Gairola, B. N. Singh, A. Chandra, and K. Al-Haddad, “Multipulse AC–DC converters for improving power quality: A review,” IEEE Trans. Power Electron., vol. 23, no. 3, pp. 260–281, Jan. 2008.
[4] J. Rodriguez, J.-S. Lai, and F. Z. Peng, “Multilevel inverters: A survey of topologies, controls, and applications,” IEEE Trans. Ind. Electron., vol. 49, no. 4, pp. 724–738, Aug. 2002.
[5] IEEE Recommended Practices and Requirements for Harmonic Control in Electrical Power Systems, IEEE std. 519-1992, 1992.
[6] B. Singh, G. Bhuvaneswari, and V. Garg, “A novel polygon based 18-pulse AC–DC converter for vector controlled induction motor drives,” IEEE Trans. Power Electron., vol. 22, no. 2, pp. 488–497, Feb. 2007.
[7] B. S. Lee, P. N. Enjeti, and I. J. Pitel, “A new 24-pulse diode rectifier system for ac motor drives provides clean power utility interface with low kVA components,” in Proc. IEEE IAS’96, pp. 1024–1031, 1996.
[8] S. Choi, B. S. Lee, and P. N. Enjeti, “New 24-pulse diode rectifier systems for utility interface of high power AC motor drives,” IEEE Trans. Ind. Appicat., vol. 33, no. 2, pp. 531–541, Mar./Apr. 1997.
[9] F. J. Chivite-Zabalza, A. J. Forsyth, and D. R. Trainer, “A simple, passive 24-pulse ac–dc converter with inherent load balancing,” IEEE Trans. Power Electron., vol. 21, no. 2, pp. 430–439, Mar. 2006.
[10] B. Singh, G. Bhuvaneswari, and V. Garg, “T-connected autotransformer-based 24-pulse ac–dc converter for variable frequency induction motor drives,” IEEE Trans. Energy Conv., vol. 21, no. 3, pp. 663–672, Sep. 2006.
[11] B. Singh, G. Bhuvaneswari, and V. Garg, “24-pulse ac–dc converter for power quality improvement in vector controlled induction motor drives,” Int. J. Elect. Power Compon. Syst., vol. 34, no. 10, pp. 1077–1098, Oct. 2006.
[12] B. Singh, V. Garg, and G. Bhuvaneswari, “Polygon connected autotransformer based 24-pulse ac–dc converter for power quality improvement,” in Proc. India Int. Conf. Power Electron. IICPE’06, Chennai, India, Dec. 19–21, pp. 125–130, 2006.
[13] B. Singh and S. Gairola, “A fork connected auto-transformer based 24-pulse ac–dc converter,” in Proc. India Int. Conf. Power Electron. IICPE, Chennai, India, Dec. 19–21, pp. 183–187, 2006.
[14] B. Singh, V. Garg, and G. Bhuvaneswari, “Polygon-connected autotransformer-based 24-pulse AC–DC converter for vector controlled induction-motor drives,” IEEE Trans. Ind. Electron., vol. 55, no. 1, pp. 197–208, Jan. 2008.
[15] D. A. Paice, Power Electronic Converter Harmonics, Multipulse Methods for Clean Power. Piscataway, NJ: IEEE Press, 1996.
[16] B. Wu, High-Power Converters and AC Drives. Piscataway, NJ: IEEE Press, 2006.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว