การออกแบบโครงข้อแข็งคอนกรีตเสริมเหล็กที่เหมาะสมด้วยวิธีฝูงอนุภาคตามมาตรฐาน ACI318-08
คำสำคัญ:
การออกแบบที่เหมาะสม, โครงข้อแข็งคอนกรีตเสริมเหล็ก, วิธีฝูงอนุภาคบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้นำเสนอการประยุกต์ใช้วิธีฝูงอนุภาค (PSO) เพื่อออกแบบโครงข้อแข็งคอนกรีตเสริมเหล็กที่เหมาะสมตามมาตรฐาน ACI318-08 และหาราคาต่ำสุดของโครงสร้าง สำหรับการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างที่เหมาะสมถูกพัฒนาโดยโปรแกรม Microsoft visual basic 6 จากนั้น ประสิทธิภาพการออกแบบของวิธีฝูงอนุภาคถูกทดสอบโดยใช้ตัวอย่างโครงข้อแข็งจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจำนวน 3 ตัวอย่าง ซึ่งคำตอบที่เหมาะสมของวิธีฝูงอนุภาคจะถูกเปรียบเทียบกับวิธีจำลองการระเบิดของจักรวาล (HBB-BC) และวิธีฝูงอนุภาคผสมวิธีฝูงมด (HPSACO) โดยจากผลการศึกษาได้แสดงให้เห็นว่า วิธีฝูงอนุภาคสามารถประยุกต์ใช้กับการออกแบบที่เหมาะสมของโครงข้อแข็งคอนกรีตเสริมเหล็กได้และมีความประหยัดกว่า HPSACO และ HBB-BC อยู่ในช่วงร้อยละ 0.28 - 7.31 และในช่วงร้อยละ 0.28 - 5.02 ตามลำดับ
References
[2] M. Y. Rafiq and C. Southcombe, “Genetic algorithms in optimal design and detailing of reinforced concrete biaxial columns supported by a declarative approach for capacity checking,” Computers and structures, vol. 69, pp. 443-457, 1998.
[3] V. C. Charles, P. Shahram, H. Hakan, “Flexural design of reinforced concrete frames using a genetic algorithm,” Journal of structural engineering, vol. 129, pp. 105-115, 2003.
[4] H. G. Kwak and J. Kim, “An integrated genetic algorithm complemented with direct search for optimum design of RC frames,” Computer-aided design, vol. 41, pp. 490-500, 2009.
[5] T. Augusto, K. Mounir, M. C. Antonio, “A cost optimization-based design of precast concrete floors using genetic algorithms,” Automation in Construction, vol. 22, pp. 348-356, 2012.
[6] S. Das, A. Abraham, A. Konar1, “Particle swarm optimization and differential evolution algorithms: technical analysis, applications and hybridization perspectives,” Studies in computational intelligence, vol. 116, pp. 1–38, 2008.
[7] L. J. Li, Z. B. Huang, F. Liu, “A heuristic particle swarm optimization method for truss structures with discrete variables,” Computers and structures, vol. 87, pp. 435–443, 2009.
[8] A. Ghoddosian and M. Sheikhi, “Using particle swarm optimization for minimization of moment peak in structure,” Australian journal of basic and applied sciences, vol. 5, pp. 1428-1434, 2011.
[9] B. A. Nedushan and H. Varaee, “Minimum cost design of concrete slabs using particle swarm optimization with time varying acceleration coefficients,” World applied sciences journal, vol. 13, pp. 2484-2494, 2011.
[10] E. Dogan and M. P. Saka, “Optimum design of unbraced steel frames to LRFD–AISC using particle swarm optimization,” Advances in engineering software, vol. 46, pp. 27–34, 2012.
[11]American Concrete Institute (ACI), “Building code requirements for structural concrete and commentary (ACI 318-08),” America, 2008.
[12] A. Kaveh and O. Sabzi, “A comparative study of two meta-heuristic algorithms for optimum design of reinforced concrete frames,” International journal of civil engineering, vol. 9, pp. 193-206, 2011.
[13] J. Kennedy and R. Eberhart, “Particle swarm optimization,” Proceedings of IEEE international conference on neural networks, 1995, IV, pp. 1942-1948.
[14] E. Dogan and M. P. Saka, “Optimum design of unbraced steel frames to LRFD-AISC using particle swarm optimization,” Advances in engineering software, vol. 46, pp. 27–34, 2012.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว