เทคนิคการจัดระยะห่างช่องสัญญาณเพื่อลด ผลกระทบจาก Four Wave Mixing
คำสำคัญ:
การจัดระยะห่างช่องสัญญาณ,, การผสมกันสี่คลื่น,, การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งแยกเชิงความยาวคลื่นที่หนาแน่นบทคัดย่อ
บทความนี้ได้นำเสนอเทคนิคใหม่ในการจัดช่องสัญญาณแบบ ERUS-UBU เพื่อลดผลกระทบจาก FWM ซึ่งพัฒนามาจากเทคนิคการจัดช่องสัญญาณแบบ ERUS-EBU โดยพิจารณาการจัดระยะห่างช่องสัญญาณตามมาตรฐาน ITU-T G.694.1 ในช่วงความยาวคลื่น 1529.55 - 1560.61 nm ของสัญญาณ DWDM ที่ได้จาก EDFA เมื่อเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้จากการทดลองเทคนิคแบบ ERUS-UBU มีคุณภาพของสัญญาณที่ดีกว่าเทคนิคแบบ ERUS-EBU ที่ ดังนั้นเทคนิคการจัดระยะห่างช่องสัญญาณแบบ ERUS-UBU สามารถปรับปรุงค่าความน่าจะเป็นความผิดพลาดและประสิทธิภาพของ FWM ให้มีค่าลดลงในระบบการส่งสัญญาณ DWDM
References
[2] I. Neokosmidis, T. Kamalakis, A. Chipouras, and T. Sphicopou-los, “New techniques for the suppression of the four-wave mixing-induced distortion in nonzero dispersion fiber WDM systems,” J. Lightw. Technol., Vol.23, No.3, pp.1137-1144, Mar, 2005.
[3] F. Forghieri, R. Tkach. A. Chrapltvy, and D. Marcuse, “Reduction of four-wave mixing crosstalk in WDM systems using unequally spaced channels,” IEEE Photon. Technol. Lett., Vol.6, No.6, pp.754-756, Jun, 1994.
[4] T. Numai and O. Kubota, “Analysis of repeated unequally spaced channels for FDM lightwave systems,” J. Lightw. Technol., Vol.18, No.5, pp. 656-664, May, 2000.
[5] V. Rachnarong and S. Nopnakepong. ‘‘The Technique to Arrange Channel ERAUS Allocations for DWDM system,’’ ladkrabang Engineer journal, Vol.21, No.4, pp. 19-25, Dec, 2009.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว