เทคนิคการตรวจจับการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระแบบแอคทีฟในการต่อต้านการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่เชื่อมต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว ตอนที่ 1
คำสำคัญ:
การตรวจจับการแยกตัวอิสระ,, หน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว,, เชื่อมต่อกริดบทคัดย่อ
บทความนี้ได้นำเสนอภาพรวมของเทคนิคการตรวจจับการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระแบบแอคทีฟในการต่อต้านการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่เชื่อมต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว ตอนที่ 1 ซึ่งเทคนิคเหล่านี้ประกอบด้วย การวัดอิมพีแดนซ์ การฉีดและการตรวจจับฮาร์โมนิคของอิมพีแดนซ์ เคลื่อนความถี่แบบเลื่อน เปลี่ยนแปลงความถี่ กระโดดความถี่ เปลี่ยนความถี่แบบซานเดีย เปลี่ยนแรงดันแบบซานเดีย หน่วยตรวจสอบหลักด้วยการจัดสรรอุปกรณ์ตัดต่อทุกขั้วที่ต่ออยู่ในชุด การเปลี่ยนแปลงของกำลังไฟฟ้าจริงและกำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ และแบบแผนความถี่ไฟฟ้าทั่วไป เทคนิคในกลุ่มแบบแอคทีฟมีพื้นที่ไร้การตรวจจับเล็กกว่าแบบพาสซีฟ แต่จุดด้อยคือจะฉีดสัญญาณเข้าสู่โครงข่ายระบบไฟฟ้ากำลังทุกครั้งเพื่อตรวจสอบว่าสภาวะที่เกิดขึ้นนั้นเป็นสภาวะการแยกตัวอิสระแล้วหรือไม่ สัญญาณเหล่านี้รบกวน แรงดัน ความถี่ และพารามิเตอร์ต่าง ๆ ของโครงข่ายระบบไฟฟ้ากำลัง การรบกวนในระบบนี้ลดทอน คุณภาพไฟฟ้า และเสถียรภาพระบบ สำหรับตัวอย่างการใช้งานนำเสนอในตอนที่ 2
References
[2] D. Velasco, C.L. Trujillo, G. Garcera and E. Figueres, “Review of Anti-Islanding Techniques in Distributed Generators,” Renewable and Sustainable Energy Reviews 14 (2010), pp.1608–1614.
[3] De Mango F, Liserre M and Aquila AD., “Overview of Anti-Islanding Algorithms for PV Systems. Part II: Active Methods,” 12th International Power Electronics and Motion Control Conference, 2006, EPE-PEMC 2006. August 30, 2006–September 1, 2006. pp. 1884–9.
[4] Ciobotaru M, Teodorescu R, Rodriguez P, Timbus A and Blaabjerg F., “Online Grid Impedance Estimation for Single-Phase Grid-Connected Systems Using PQ Variations,” IEEE Power Electronics Specialists Conference, 2007, PESC 2007. 17–21, June 2007. pp. 2306–12.
[5] Chunjiang Z,Wei L, Guocheng S and Weiyang W., “A Novel Active Islanding Detection Method of Grid-Connected Photovoltaic Inverters Based on Current-Disturbing,” CES/IEEE 5th International Power Electronics and Motion Control Conference, 2006, IPEMC’06, Vol. 3. August, 2006. pp. 1–4.
[6] Lopes LAC and Sun H., “Performance assessment of Active Frequency Drifting Islanding Detection Methods,” IEEE Transactions on Energy Conversion Vol. 21, No. 1, March 2006. pp. 171–80.
[7] Guo-Kiang Hung, Chih-Chang Chang, and Chern-Lin Chen, “Automatic Phase-Shift Method for Islanding Detection of Grid-Connected Photovoltaic Inverters,” IEEE Transactions on Energy Conversion, Vol. 18, No. 1, March 2003.
[8] Y. Jung, J. Choi, Yu, G. Yu, and J. So, J. Choi, “A Novel Active Frequency Drift Method of Islanding Prevention for the grid-connected Photovoltaic Inverter,” Power Electronics Specialists Conference, 2005.
[9] Wang X, Freitas W, Xu W and Dinavahi V., “Impact of DG Interface Controls on the Sandia Frequency Shift Antiislanding Method,” IEEE Transaction on Energy Conversion September, 2007;22(3):792–4.
[10] H. H. Zeineldin, and S. Kennedy, “Instability Criterion to Eliminate the Non-detection Zone of the Sandia Frequency Shift Method,” Power Systems Conference and Exposition, 2009.
[11] Byunggyu Yu, Mikihiko Matsui and Gwonjong Yu, “A Review of Current Anti-Islanding Methods for Photovoltaic Power System,” Solar Energy 84, pp.745–754, March 2010.
[12] Wen Hu, and Yun-Lian Sun “A Compound Scheme of Islanding Detection according to Inverter,” Power and Energy Engineering Conference, 2009.
[13] Jeong JB, Hee Jun Kim, Soo Hyun Back and Kang Soon Ahn., “An Improved Method for Anti-Islanding by Reactive Power Control,” Proceedings of the Eighth International Conference on Electrical Machines and Systems, 2005, ICEMS 2005, Vol. 2; 29 September, 2005. pp. 965–70.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว