การออกแบบเส้นทางการขนส่งหลายรูปแบบเพื่อการส่งออกผลไม้

ผู้แต่ง

  • ศักรธร บุญทวียุวัฒน์

คำสำคัญ:

การขนส่งหลายรูปแบบ, การลดต้นทุนการขนส่ง, แบบจำลองการแก้ไขปัญหาการโปรแกรมเชิงเส้น, การส่งออกผลไม้, และ ท่าเรือสุราษฎร์ธานี

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้นำเสนอการออกแบบชุดเส้นทางการขนส่งใหม่เพื่อลดต้นทุนการขนส่งสินค้าประเภทคอนเทนเนอร์ ซึ่งต้นทุนการขนส่งนั้นมีสัดส่วนมากที่สุดในระบบโลจิสติกส์มากถึง 50% ของทั้งระบบฯ  ชุดเส้นทางการขนส่งใหม่นี้จะถูกพิจารณาโดยรูปแบบของการขนส่งหลายรูปแบบระหว่างการขนส่งทางรถบรรทุกอย่างเดียว และการขนส่งทางเรือผสมผสานกับรถบรรทุกโดยประยุกต์ใช้แบบจำลองการแก้ไขปัญหาเชิงเส้น เพื่อหาชุดเส้นทางการขนส่งใหม่ที่ประกอบด้วยปริมาณสินค้าที่เหมาะสมในแต่ละเส้นทาง  ผลที่ได้จากแบบจำลองฯ พบว่าชุดเส้นทางการขนส่งใหม่สามารถลดต้นทุนและเวลาที่ใช้ในการขนส่งได้ 17.52% และ 61% ตามลำดับ   ผลการวิจัยที่ได้จากแบบจำลองฯ สามารถเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการการขนส่งและโลจิสติกส์ ในการลดต้นทุนการขนส่งภายในเวลาที่จำกัดเพื่อการส่งออกผลไม้และสินค้าอื่นๆที่บรรจุลงในตู้คอนเทนเนอร์แช่เย็นได้อย่างมหาศาล ตลอดจนจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารระดับสูงของท่าเรือสุราษฎร์ธานีอีกด้วย

References

[1] P.Pumpuang, “Transport Planning-Cost Saving Human Development Technology Management”, Bangkok, Logistics Thailand, 2014. (in Thai)
[2] F.L. Hitchcock, “The distribution of a product from several sources to numerous localities”, Journal of Mathematical Physics, Vol.20, pp.224-230, 1941.
[3] G.Tzeng, M.Hwang, and S.Ting, “Taipower’s coal logistics system : allocation planning and bulk fleet deployment”, International Jounal of Physical Distribution & Logistics Management, Vol.25, pp.24-46, 1995.
[4] S.C.H. Leung, Y. Wu and K.K. Lai, “An optimization model for a cross-border logistics problem: A case in Hong Kong”, Computer and Industrial Engineering, Vol. 43, pp.393-405, 2002.
[5] A.M. Costa, “A survey on benders decomposition applied to fixed-charge network design problems”, Computer and Operations Research, Vol.32, pp.1429-1450, 2005.
[6] A. Balakrishnan, T.L. Magnanti and R.T. Wong, “A dual-ascent procedure for large-scale uncapacitated network design”,Operations Research, Vol.37, pp.716-740, 1989.
[7] A. Balakrishnan, T.L, “LP extreme points and cuts for the fixed-charge network design problem”, Mathematical Programming, Vol.39, pp. 263-284, 1987.
[8] K.Holmberg and D. Yuan, “A Lagrangean approach to network design problems”, International Transactions in Operational Research, Vol.5, pp.529-539, 1998.
[9] R.Aversa, R.C. Botter, H.E. Haralambides and H.T.V. Yoshisaki “A mixed integer programming model on the location of a hub port in the East Coast of South America”, Maritime Economics & Logistics, Vol. 7, pp.1-18, 2005.
[10] J.P. Rodrigue, “The Geography of Transport System”, 3rd ed., Routledge, New York, 2013.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-19

How to Cite

[1]
บุญทวียุวัฒน์ ศ., “การออกแบบเส้นทางการขนส่งหลายรูปแบบเพื่อการส่งออกผลไม้”, Eng. & Technol. Horiz., ปี 33, ฉบับที่ 1, น. 78–83, มิ.ย. 2020.