อิทธิพลของสายพันธุ์ไม้และขนาดความหนาต่อสมบัติทางกลและทางกายภาพของแผ่นใยไม้อัดที่ไม่มีตัวประสาน
คำสำคัญ:
แผ่นใยไม้อัดที่ไม่มีตัวประสาน, ไม้ยางพารา, ไม้ปาล์มน้ำมัน, สายพันธุ์ไม้บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ เพื่อศึกษาอิทธิพลของสายพันธุ์ไม้และขนาดความหนาต่อสมบัติทางกลและทางกายภาพของแผ่นใยไม้อัดที่ไม่มีตัวประสาน ในการขึ้นรูปแผ่นใยไม้อัดเป็นชิ้นงานตัวอย่างกระทำโดยใช้เครื่องอัดร้อน เพื่อให้ได้แผ่นใยไม้อัดที่มีความหนาแน่นเฉลี่ย 0.8 กรัมต่อเซนติเมตร3 และจากการทดลองพบว่า แผ่นใยไม้อัดที่ไม่มีตัวประสานจากผงไม้ยางพารามีสมบัติความแข็งแรงดึงตั้งฉากกับผิวหน้า ความแข็งแรงดัด การดูดซับน้ำ และการพองตัวสูงกว่าแผ่นใยไม้อัดจากผงไม้ปาล์มน้ำมัน นอกจากนี้พบด้วยว่า การเพิ่มขึ้นของขนาดความหนา (6, 9 และ 12 มิลลิเมตร) แผ่นใยไม้อัดที่ไม่มีตัวประสาน ส่งผลให้ความแข็งแรงดึงตั้งฉากกับผิวหน้า เปอร์เซ็นต์การดูดซับน้ำ และอัตราการพองตัวมีค่าลดลงตามความหนาที่เพิ่มขึ้น แต่ทว่าการเพิ่มขึ้นของขนาดความหนา ส่งผลให้แผ่นใยไม้อัดที่ไม่มีตัวประสานมีความแข็งแรงดัดเพิ่มขึ้น
References
[2] R. Hashim, N. Said, J. Lamaming, M. Baskaran, et al., “Influence of Press Temperature on the Properties of Binderless Particleboard Made from Oil Palm Trunk,” Materials and Design, Vol.32, pp.2520-2525, 2011.
[3] M.W. Marashdeh, R. Hashim, A.A. Tajuddin, et al., “Effect of Particle Size on the Characterization of Binderless Particleboard Made from Rhizophora SPP,” BioResources, Vol.6, pp.4028-4044, 2011.
[4] N. Okuda and M. Sato, “Manufacture and Mechanical Properties of Binderless Boards from Kenaf Core,” Journal of Wood Science, Vol.50, pp.53-61, 2004.
[5] H. Bouafif, A. Koubaa, P. Perre and A. Cloutier, “Effects of Fiber Characteristics on the Physical and Mechanical Properties of Wood Plastic Composites,” Composites: Part A, Vol.40, pp.1975-1981, 2009.
[6] C. Homkhiew, “Development and Applications of Natural Fiber/Thermoplastic Composites for Industrial,” The Journal of Industrial Technology, Vol.10, pp.97-110, 2014.
[7] W.W. Nadhari, R. Hashim, S. Hiziroglu, et al., “Measurement of Some Properties of Binderless Composites Manufactured from Oil Palm Trunks and Acacia Mangium,” Measurement, Vol.50, pp.250-254, 2014.
[8] J. Lamaming, R. Hashim, O. Sulaiman, et al., “Measurement of Some Properties of Binderless Particleboard made from Young and Old Oil Palm Trunks,” Measurement, Vol.47, pp.813-819, 2014.
[9] V. Punsuvon, P. Vaithanomsat, P. Pumiput, et al., “Fractionation of Chemical Components of Oil Palm Trunk by Steam Explosion for Xylitol and Alcohol Production,” Proceedings of 59th Appita Annual Conference, New Zealand, 16-19 May 2005, pp.301-307.
[10] P. Petchpradab, T. Yoshida, T. Charinpanitkul and Y. Matsumura, “Hydrothermal Pretreatment of Rubber Wood for the Saccharification Process,” Industrial & Engineering Chemistry Research, Vol.48, pp.4587-4591, 2009.
[11] N. Saadaoui, A. Rouilly, K. Fares and L. Rigal, “Characterization of Date Palm Lignocellulosic by-Products and Self-Bonded Composite Materials Obtained thereof,” Materials and Design, Vol.50, pp.302-308, 2013.
[12] C. Homkhiew, S. Rawangwong and W. Boonchouytan, “Optimizing Condition for Manufacturing the Binderless Particleboard by Response Surface Methodology,” The Journal of Industrial Technology, Vol.11, pp.40-55, 2015.
[13] M. Baskaran, R. Hashim, O. Sulaiman, et al., “Optimization of Press Temperature and Time for Binderless Particleboard Manufactured from Oil Palm Trunk Biomass at Different Thickness Levels,” Materials Today Communications, Vol.3, pp.87-95, 2015.
[14] C. Homkhiew, T. Ratanawilai, S. Rawangwong and W. Boonchouytan, “Effect of Temperatures and Water Types on Water Absorption of Rubberwood Flour-Polypropylene Composites,” Ladkrabang Engineering Journal, Vol.32, pp.49-54, 2015.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว