การแยกซิลิกาจากเถ้าลอยชีวมวลด้วยวิธีไฮโดรเทอร์มัลในสภาวะเบสและการตกตะกอนซิลิกาด้วยกรดอินทรีย์

Main Article Content

Patthra Pengthamkeerati
Tunlawit Satapanajaru
Nipawan Sananwai
Autchara Boonrite
Phatchariya Welutung

บทคัดย่อ

งานศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะเหมาะสมในการแยกและตกตะกอนซิลิกาจากเถ้าลอยชีวมวล ผลการศึกษาพบว่าสภาวะที่ดีที่สุดในการแยกซิลิกาจากเถ้าลอยในงานศึกษานี้ คือ การกระตุ้นเถ้าลอยด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่มีความเข้มข้น 3 โมลาร์ อัตราส่วนระหว่างเถ้าลอยและสารละลายที่ใช้ 1 : 10 กรัมต่อมิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ 90oC เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ผลการศึกษาชี้ว่าปัจจัยเหล่านี้มีความสำคัญต่อการละลายของซิลิกาจากเถ้าลอยชีวมวล การศึกษาการตกตะกอนซิลิกาด้วยสารละลายกรดอินทรีย์พบว่าการใช้กรดซิตริกและสภาวะการตกตะกอนที่ pH เท่ากับ 4 เป็นสภาวะที่ทำให้ซิลิกาตกตะกอนสูงสุด (ร้อยละ 98.5) ซึ่งเป็นเพราะสภาวะความเป็นกรดที่เพียงพอในการตกตะกอนและกรดอินทรีย์มีค่าการแตกตัวที่เหมาะสม ซิลิกาที่ผลิตได้ทำการวิเคราะห์ด้วยเครื่อง X-ray Diffraction และพบว่าเป็นซิลิกาแบบอสัณฐานการวิเคราะห์ด้วยเครื่อง X-ray Fluorescence พบว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้มีซิลิกาเป็นองค์ประกอบหลักที่ร้อยละ 95.6 ดังนั้นการนำเถ้าลอยชีวมวลมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตซิลิกาจึงเป็นแนวทางที่จะเพิ่มมูลค่าให้กับเถ้าลอยชีวมวลได้อย่างน่าสนใจ

Article Details

บท
บทความวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์

References

[1] Department of Alternative Energy Development and Efficiency, Alternative Energy Development Plan (AEDP 2015–2036), Bangkok: Ministry of Energy, 2015 (in Thai).

[2] S. Rattanaveeranon, “Optimal condition for preparation of silica from rice husk ash,” M.S. thesis, Department of Physics, Faculty of Science, Prince of Songkla University, 2004 (in Thai).

[3] P. Pengthamkeerati, T. Satapanajaru, and O. Singchan, “Sorption of reactive dye from aqueous solution on biomass fly ash,” Journal of Hazardous Materials, vol. 153, pp. 1149–1156, 2008.

[4] U. Kalapathy, A. Proctor, and J. Shultz, “A simple method for production of pure silica from rice hull ash,” Bioresource Technology, vol. 73, pp. 257–262, 2000.

[5] U. Kalapathy, A. Proctor, and J. Shultz, “An improved method for production of siloca from rice hull ash,” Bioresource Technology, vol. 85, pp. 285–289, 2002.

[6] R. R. Zaky, M. M. Hessien, A. A. El-Midany, M. H. Khedr, E. A. Abdel-Aal, and K. A. El-Barawy, “Preparation of silica nanoparticles fromsemi-burned rice straw ash,” Powder Technology, vol. 185, pp. 31–35, 2008.

[7] P. Pengthamkeerati, T. Satapanajaru, N. Chatsatapattayakul, P. Chairattanamanokorn, and N. Sananwai, “Alkaline treatment of biomass fly ash for reactive dye removal from aqueous solution,” Desalination, vol. 261, pp. 34–40, 2010.

[8] H. Hamdan, M. N. M. Muhid, S. Endud, E. Listiorini, and Z. Ramli, “29Si MAS NMR, XRD and FESEM studies of rice husk silica for the synthesis of zeolites,” Journal of Non-Crystalline Solids, vol. 211, no. 1–2, pp. 126–131, 1997.