การประยุกต์ภาพจากอากาศไร้คนขับเพื่อการประเมินพื้นที่สีเขียว และการปกคลุมของร่มไม้ภายในมหาวิทยาลัยพะเยา
คำสำคัญ:
การทำแผนที่พื้นที่สีเขียว, ภาพจากอากาศไร้คนขับ, การประเมินการปกคุลมของพื้นที่ร่มไม้บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินเนื้อที่ของพื้นที่สีเขียวและการปกคลุมของร่มไม้ที่ด้วยข้อมูลภาพจากอากาศยานไร้คนขับโดยรอบคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารภายในมหาวิทยาลัยพะเยา ภายหลังการบินถ่ายภาพโดยใช้ดีเจไอรุ่นแฟมทอมสี่โปรวีสองกับกล้องถ่ายภาพสี ภาพถ่ายหลายภาพถูกประมวลผลและการต่อภาพด้วยกันด้วยโปรแกรมโดรนดีพอยท์ ชั้นข้อมูลแผนที่พื้นที่สีเขียวและพื้นที่ร่มเงาถูกสร้างขึ้นด้วยการแปลภาพด้วยสายตาและการดิจิไตส์ จากนั้นสัดส่วนระหว่างพื้นที่สีเขียวและประชากรถูกคำนวณจากชั้นข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า มีพื้นที่สีเขียวร้อยละ 61.41 ของพื้นที่ทั้งหมด (หรือ 23.89 ตร.ม.ต่อคน) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นอีกว่าการประเมินการปกคลุมของพื้นที่ร่มไม้นั้นเป็นไปได้และมีประโยชน์เป็นข้อมูลสนับสนุนการจัดการพื้นที่สีเขียวได้ด้วย
References
กองการเจ้าหน้าที่. (2565). สรุปอัตรากำลัง บุคลากร ของมหาวิทยาลัยพะเยา ปี 2563. มหาวิทยาลัยพะเยา. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2565. สืบค้นจาก: http://www.personnel.up.ac.th/ContentRead.aspx?c=อัตรากำลัง
ไทยพีบีเอส. (2565). คนกรุงเทพฯ มีพื้นที่สีเขียวไม่เพียงพอจริงหรือ?. สืบค้นวันที่ 10 ธันวาคม 2565. สืบค้นจาก: https://thevisual.thaipbs.or.th/bangkok-green-space/main/
ปุณยนุช รุธิรโก. (2557). การประเมินคุณภาพและแนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียวนันทนาการในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ และเทศบาลเมืองคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
พรพจน์ เพ็ญพาส. (2565). การสำรวจและจัดทำแผนที่ด้วยอากาศยานไร้คนขับ. กรมโยธาธิการและผังเมือง. สืบค้นวันที่ 10 ธันวาคม 2565. สืบค้นจาก: http://oldoffice.dpt.go.th/km/images/pdf/paper_km_6_63.pdf
ระบบบริการการศึกษา. (2565). จำนวนนิสิตในปัจจุบัน. มหาวิทยาลัยพะเยา. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2565. สืบค้นจาก: https://reg.up.ac.th/content/all/information
วราลักษณ์ คงอ้วน และ พุฒพรรณี ศีตะจิตต์. (2554). การจัดการพื้นที่สีเขียวในสถาบันศึกษา: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล, 13(2), 74-87.
ศุภกิจ พิทักษ์บ้านโจด. (2565, 3 มกราคม). พื้นที่สีเขียวในเมืองใหญ่. becommon. สืบค้นวันที่ 10 ธันวาคม 2565.
สืบค้นจาก: https://becommon.co/culture/green-bangkok/
สำนักข่าวอิศรา. (2565, 19 มีนาคม). ‘พื้นที่สีเขียว’ ดัชนีวัดความสุขคนกรุง ส่วน กทม.ยังห่างไกลจากคำว่า ‘เมืองสิ่งแวดล้อม’. สำนักข่าวอิศรา. สืบค้นวันที่ 10 ธันวาคม 2565. สืบค้นจาก: https://www.isranews.org/article/isranews-scoop/107414-isranews-246.html
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2565). การจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน. สืบค้นวันที่ 10 ธันวาคม 2565. สืบค้นจาก: http://www.onep.go.th/ebook/eurban/eurban-publication-07.pdf
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2565). แผนปฎิบัติการเชิงนโยบายด้านการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน. สืบค้นวันที่ 10 ธันวาคม 2565. สืบค้นจาก:http://www.onep.go.th/ebook/eurban/eurban-publication-06.pdf
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2565). พื้นที่สีเขียว. สืบค้นวันที่ 10 ธันวาคม 2565. สืบค้นจาก: https://www.onep.go.th/พื้นที่สีเขียว/
สินีนาถ ศุกลรัตนเมธี. (2562, 19 กรกฎาคม). พื้นที่สีเขียวในเมือง ต้องมีการวางแผนเชิงรุก 2022. มติชนออนไลน์. สืบค้นวันที่ 10 ธันวาคม 2565. สืบค้นจาก: https://www.matichon.co.th/article/news_1585145
Russo A, and Cirella G. T. (2018). Modern Compact Cities: How Much Greenery Do We Need?, Int J Environ Res Public Health, 15(10), 1-15.
