การเปรียบเทียบข้อมูลภาพดัชนีพืชพรรณผลต่างแบบนอร์แมลไลซ์และข้อมูลภาพแบบหลายช่วงคลื่นของภาพถ่ายดาวเทียมเซนติเนลสองสำหรับการตรวจหาพื้นที่ นาร้างกรณีศึกษา จังหวัดพะเยาฝั่งตะวันออก

ผู้แต่ง

  • ปิยะนันท์ จินดาอินทร์ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดพะเยาจังหวัดพะเยา 56000
  • พุฒิพงศ์ ธนะวงศ์ สาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา 56000

คำสำคัญ:

พื้นที่นาร้าง, ค่าดัชนีพืชพรรณผลต่างแบบนอร์แมลไลซ์, การจำแนกข้อมูลแบบความน่าจะเป็นไปได้สูงสุด

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถของข้อมูลภาพดัชนีพืชพรรณผลต่างแบบนอร์แมลไลซ์ (NDVI)และข้อมูลภาพแบบหลายช่วงคลื่นจากดาวเทียมเซนติเนลสองสำหรับการตรวจหาพื้นที่นาร้างบริเวณจังหวัดพะเยาฝั่งตะวันออกโดยอาศัยการจำแนกข้อมูลแบบความน่าจะเป็นไปได้สูงสุด (MLC) จากผลการศึกษาพบว่า ข้อมูลภาพดัชนีพืชพรรณผลต่างแบบนอร์แมลไลซ์ให้ค่าความถูกต้องโดยรวมเท่ากับร้อยละ 60.78 ซึ่งสูงกว่าการใช้ข้อมูลภาพแบบหลายช่วงคลื่นที่ให้ค่าความถูกต้องโดยรวมเท่ากับร้อยละ 38.80 สามารถสรุปได้ว่า ค่าดัชนีพืชพรรณผลต่างแบบนอร์แมลไลซ์ร่วมกับวิธีการจําแนกข้อมูลแบบความน่าจะเป็นไปได้สูงสุด เป็นทางเลือกที่สามารถช่วยในการตรวจหาพื้นที่นาร้าง เพื่อนำไปใช้ประกอบการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

References

กรมพัฒนาที่ดิน. (2565). ข้อมูลพื้นที่ทิ้งร้าง. กรุงเทพฯ: กลุ่มวางแผนการจัดการที่ดินในพื้นที่เสี่ยงภัยทางการเกษตร.

กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน. สืบค้นจาก http://irw101.ldd.go.th/index.php/2017-05-23-02-00-47/11-2017-05-26-02-10-18/74-2017-06-15-08-54-12.

ทิพย์วรรณ ปิติจะ และ สวรินทร์ ฤกษ์อยู่สุข. (2562). การตรวจหาพื้นที่ว่างเปล่าจากข้อมูลการรับรู้จากระยะไกลแบบหลายช่วงเวลา กรณีศึกษา จังหวัดพะเยา. ใน กองบริหารงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา, (Eds.), พะเยาวิจัย ครั้งที่ 8 วันที่ 24-25 มกราคม 2562 (น.1254-1263). พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) และสมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย. (2552). ตำราเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน).

สุวิทย์ อ๋องสมหวัง. (2559). ระบบการรับรู้จากระยะไกลและการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเลข. นครราชสีมา: สำนักวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีีสุรนารี.

อานนท์ เบียงแล และ สวรินทร์ ฤกษ์อยู่สุข. (2563). การศึกษาการจำแนกข้อมูลภาพด้วยวิธีซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน กรณีศึกษา พื้นที่เพาะปลูกข้าว อำเภอจุน จังหวัดพะเยา. วารสารวิชาการเพื่อการพัฒนานวัตกรรมเชิงพื้นที่, 3, 51-62.

Cai, Y., Lin, H., & Zhang, M. (2019). Mapping paddy rice by the object-based random forest method using time series Sentinel-1/Sentinel-2 data. Advances in Space Research, 64(11), 2233-2244.

Fitzpatrick-Lins, K. (1981). Comparison of sampling procedures and data analysis for a land-use and land-cover map. Photogrammetric Engineering and Remote Sensing, 47(3), 343-351.

Lillesand TM, Kiefer RW. (2000). Remote Sensing and Image Interpretation. (4th ed.). New York: John Wiley & Sons.

Lunetta, R. S., & Lyon, J. G. (Eds.). (2004). Remote sensing and GIS accuracy assessment. CRC press.

Mather, P., & Tso, B. (2001). Classification methods for remotely sensed data. Boca Raton: Taylor & Fracis.

Rouse, J. W., Haas, R. H., Schell, J. A., & Deering, D. W. (1974). Monitoring vegetation systems in the Great Plains with ERTS. NASA Spec. Publ, 351(1), 309.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

08/30/2022