การประเมินการปนเปื้อนโลหะหนักบางชนิดในดินนาข้าวของจังหวัดสุโขทัย
คำสำคัญ:
โลหะหนัก, การปนเปื้อน, ดินบทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการปนเปื้อนของโลหะหนักบางชนิด ได้แก่ ตะกั่ว แคดเมียม ทองแดง สังกะสี และเหล็ก ในดินนาข้าว 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอศรีสำโรง อำเภอเมือง และอำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย ผลการศึกษา พบว่า ดินนาข้าวมีการปนเปื้อนเหล็กเฉลี่ยมากที่สุด 3,576.35±1,325.13 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (อยู่ในช่วง 961.88- 6689.38 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) รองลงมา ได้แก่ สังกะสีเฉลี่ย 30.78±10.27 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (อยู่ในช่วง 7.55-74.10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ตะกั่วเฉลี่ย 15.49±8.97 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (อยู่ในช่วง ND-34.08 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) และทองแดงเฉลี่ย 15.29±5.84 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (อยู่ในช่วง 3.10- 30.03 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ตามลำดับ ในขณะที่ตรวจไม่พบปริมาณแคดเมียมในดินนาข้าวในทุกพื้นที่ ซึ่งปริมาณการปนเปื้อนโลหะหนักในดินนาข้าวดังกล่าวไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้
References
กรมการข้าว. (2556). องค์ความรู้เรื่องข้าว. สืบค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2563, จาก http://www.ricethailand.go.th.
กรมการข้าว. (2564). การปลูก ดูแลรักษา และใช้ปุ๋ยในนาข้าว. สืบค้นเมื่อ 16 มกราคม 2564, จาก http://www.ricethailand.go.th/Rkb/management/index.php-file=content.php&id=34.htm#:~:text=ดินที่มีปัญหาธาตุเหล็กเป็นพิษ%20(Iron%20toxicity)&text=ความเป็นพิษของเหล็ก,ธาตุอาหารพืชลดลง
กรมพัฒนาที่ดิน. (2553). คู่มือการปฏิบัติงานการวิเคราะห์ตรวจสอบดินทางเคมี. สืบค้นเมื่อ 23 ตุลาคม 2563, จาก https://www.ldd.go.th/PMQA/2553/Manual/OSD-03.pdf
กรมพัฒนาที่ดิน. (2554). การจัดการปัญหาดินปนเปื้อน. สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.ldd.go.th/Web_Soil/polluted.htm
กัญชลี เจติยานนท์, ภิญญุภา เปลี่ยนบางช้าง, ศักดิ์ชัย วิทยาอารีย์กุล, วันวิสาข์ ปั้นศักดิ์, และสุพรรณนิกา อินต๊ะนนท์ (2561). พฤติกรรมการใช้ปุ๋ยเคมีของเกษตรกรบ้านโพธิ์ประสาท ตำบลบ่อทอง อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. วารสารเกษตร, 34(2), 245-253.
กำพล บุญไพโรจน์. (2553). ปริมาณตะกั่วและแคดเมียมที่ปนเปื้อนในแปลงนาข้าวและน้ำบาดาล. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, คณะวิศวกรรมศาสตร์, สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม.
เกษมศรี ซับซ้อน. (2541). ความชื้นของดิน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: นานาสิ่งพิมพ์.
คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. (2541). ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. (เอกสารวิชาการ). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 547 หน้า.
นพกร สุขพัฒน์, และปิยะดา วชิระวงศกร. (2562). การประเมินการปนเปื้อนโลหะหนักของดินนาข้าวในอำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 (น.846-854). พิษณุโลก. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
นันทนา ชื่นอิ่ม, นุษรา สินบัวทอง, วิวัฒน์ อิงคะประดิษฐ์, กิ่งแก้ว คุณเขต, วาสนา อินแกลง, และวิทสันติ หอมงาม. (2551). การสะสมโลหะหนักในดินปลูกข้าวอินทรีย์. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46 (น. 521-525). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ประไณย รวบรวม, และปิยะดา วชิระวงศกร. (2562). การประเมินโลหะหนักในดินนาของจังหวัดพิษณุโลก. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจาปี พ.ศ. 2563 (น. 864-873). พิษณุโลก. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ภัคภณ ศรีคล้าย. (2558). อินทรียวัตถุในดิน. สืบค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2563, จาก http://paccapon.blogspot.com/2015/10/blog-post_13.html
วรชาติ วิศวพิพัฒน์. (2555). เทคโนโลยีการบำบัดดินปนเปื้อนโลหะหนัก. วารสารแก่นเกษตร, 40, 373-378.
วรรธนศักดิ์ สุขสง, รวี จันทรัตน์, สรพงค์ เบญจศรี, และวิชุดา กล้าเวช. (2556). ปริมาณโลหะหนักสะสมในดินที่ทำการเกษตรเคมีในอําเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง. ใน การประชุมวิชาการแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน ครั้งที่ 10 (น. 248-255). กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุโขทัย. (2561). การปลูกข้าว. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.opsmoac.go.th/sukhothai-article_prov-preview-401591791924
สำนักงานสถิติจังหวัดสุโขทัย. (2556). รายงานวิเคราะห์สถานการณ์การจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ จังหวัดสุโขทัย. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2563, จาก http://osthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file%20Download/Report%20Analysis%20Province/A2.pdf
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2557). ข้อมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2556. นนทบุรี: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สุจิตรา ชูเกิด. (2553). ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมสารเคมีตกค้างในดินและน้ำจากการทำนา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยทักษิณ, คณะวิทยาศาสตร์, สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม.
สุธาสินี อั้งสูงเนิน. (2558). สารกําจัดศัตรูพืช. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2563, จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSci/article/view/31481/35246
Biothai (2016). Chemicals in rice fields. Retrieved April, 11, 2016, from http://www.biothai.net/node/8688
Fangmin, C., Ningchum, Z., Haiming, X., Yi, L., Wenfang, Z., Zhiwei, Z., & Mingxue, C. (2006). Cadmium and lead contamination in Japonica rice grains and its variation among the different locations in southeast China. Sci. Total Environ, 359, 156 – 166.
Jung, M.C., & Thornton, I. (1997). Environmental contamination and seasonal variation of metals in soils, plants and waters in paddy fields around a Pb-Zn mine in Kores. Sci. Total Environ, 198, 105–121.
Moon, C.S., Zhang, Z.W., Shimbo, S., & Ikeda, M. (1995). Dietary intake of cadmium and lead among general population in Republic of Korea, Environ. Res, 71, 46-54.
Satpathy, D., Reddy, M.V., & Dhal, S.P. (2014). Risk Assessment of Heavy Metals Contamination in Paddy Soil, Plants, and Grains (Oryza sativa L.) at the East Coast of India. BioMed Research International, 2014,https://doi.org/10.1155/2014/545473.
Shimbo, S., Zhang, Z.W., Watanabe, T., Igashikawa, K.H., & Ikeda, M. (2001). Cadmium and lead contents in rice and other cereal products in Japan in 1998–2000. Sci.Total Environ, 281, 165-175.
Trueplookpanya (2016). Application of pesticides. Retrieved April, 11, 2016, from http://www.Trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/12584-00/
Zhang, M.K., & Ke, Z.X. (2004). Heavy metals, phosphorus and some other elements in urban soils of Hangzhou city, China. Pedosphere, 14, 177-185.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการปรับปรุงแก้ไขตัวอักษรและคำสะกดต่างๆ ที่ไม่ถูกต้อง และต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร PSRU Journal of Science and Technology ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม และ
ผลการพิจารณาคัดเลือกบทความตีพิมพ์ในวารสารให้ถือมติของกองบรรณาธิการเป็นที่สิ้นสุด