การแพทย์วิถีธรรมกับการเพิ่มภูมิคุ้มกันโรคไวรัสโควิด-19

ผู้แต่ง

  • ธนวันต์ ศรีอมรรัตนกุล มหาวิทยาลัยปทุมธานี
  • สมพร จิตรัตนพร

คำสำคัญ:

Buddhist Dhamma medicine, Immunity, COVID-19

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ 

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ เป็นแนวทางเสริมภูมิคุ้มกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากผลการวิจัยเชิงศึกษาตัวเอง (Self-Study Research) เรื่อง การดูแลสุขภาพพึ่งตนตามหลักการแพทย์วิถีธรรมในผู้ที่ผ่านค่ายแพทย์วิถีธรรมในจังหวัดมุกดาหาร ร่วมกับการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพในผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 พบว่า ผู้ที่นำหลักการแพทย์วิถีธรรมมาใช้ในการดูแลสุขภาพมีโอกาสติดเชื้อน้อย หรือเมื่อติดเชื้อแล้วจะมีอาการไม่รุนแรง  โดยแนวทางเสริมภูมิคุ้มกันตามหลักการแพทย์วิถีธรรมตามแนวคิดของ ใจเพชร กล้าจน (หมอเขียว) เป็นวิธีการดูแลสุขภาพง่ายๆ ประหยัดและปลอดภัย สามารถสรุปได้ 2 แนวทาง คือ 1) แนวทางการปรับสมดุลทางกาย ประกอบด้วย  1.1) การให้อาหารทางกาย ได้แก่ การรับประทานสมุนไพรปรับสมดุล และการรับประทานอาหารปรับสมดุล และ 1.2) การขับพิษทางกาย ได้แก่ การกัวซา การสวนล้างลำไส้ใหญ่ การพอก ทา หยอด ประคบ อบ อาบ และแช่ด้วยสมุนไพร การออกกำลังกาย โยคะ กายบริหาร กดจุดลมปราณ  และการรู้เพียรรู้พัก  2)  แนวทางการปรับสมดุลทางใจ ประกอบด้วย การให้อาหารทางใจ  ซึ่งถือเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันโรคได้ด้วยตนเอง

References

กรมการศาสนา. (2541). พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
กรมควบคุมโรค. [ออนไลน์]. (2564). รายงานสถานการณ์โควิด 19. เข้าถึงได้จาก: https://data.go.th

/dataset/covid-19-daily
กรมสุขภาพจิต. [ออนไลน์]. (2563). นาฬิกาชีวิต (Body Clock). เข้าถึงได้จาก:
https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=2275
กฤตยา แสนลี, วิชัย อึงพินิจพงศ์ และอุไรวรรณ ชัชวาล. (2557, พฤษภาคม-สิงหาคม). ผลทันทีของการ
บำบัดด้วยวิธีกัวซาต่อการบรรเทาอาการปวดบริเวณคอและบ่าที่มีสาเหตุมาจากกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืดในผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจำ. ใน วารสารเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด. ปีที่ 26 (ฉบับที่2) หน้า: 170-179.
กวี คงภักดีพงษ์. (2552, มิถุนายน). “ กะปาละบาติ.” ใน นิตยสารหมอชาวบ้าน. เล่มที่ 362
เข้าถึงได้จาก: https://www.youtube.com/watch?v=ZnNFARzOVcI.
จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน. (2563, กรกฎาคม-ธันวาคม). “พฤติกรรมสารสนเทศในยุคโควิด-19.” ใน วารสาร
ห้องสมุด. ปีที่ 64 (ฉบับที่ 2) : หน้า 36-49.
ใจเพชร กล้าจน. (2559). จิตอาสาแพทย์วิถีพุทธเพื่อมวลมนุษยชาติ. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค (สาธารณสุขชุมชน), มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
. (2560, กันยายน-ธันวาคม). “สังเขปรายวิชา หลักสูตร การแพทย์ทางเลือกวิถีธรรม

เพื่อการพึ่งตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง.” ในวารสารวิชชาราม. ปีที่ 1 (ฉบับที่1): หน้า 1-172.
. (2561). อริยศีลรักษาโรค. สมุทรสาคร : พิมพ์ดี.

ณิชาภา พาราศิลป์, ศิรินทิพย์ คำฟู และ อรรจน์มน ธรรมไชย. (2560, กรกฎาคม-กันยายน). “ผลทันทีของ
การรักษาด้วยแผ่นประคบร้อนสมุนไพรไทยต่ออาการปวดและความยืดหยุ่นของหลังส่วนล่าง: การศึกษานำร่อง.” ใน สงขลานครินทร์เวชสาร. ปีที่ 35 (ฉบับที่ 3): หน้า 221-228.
ดวงพร อรัญญพงษ์ไพศาล,[ออนไลน์]. (2020). NK Cell (Natural Killer Cell). สำนักหอสมุด
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เข้าถึงได้จาก: https://www.lib.ku.ac.th/eng/index.php/
covid-19/1054-nkcell
ทกมล กมลรัตน์ และคณะ. (2552, มกราคม-เมษายน). “ การเปรียบเทียบผลของความร้อนระหว่างแผ่น
ประคบร้อนและลูกประคบสมุนไพรต่อการบรรเทาปวดและการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา.”
ใน วารสารเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด. ปี ปีที่ 21 (ฉบับที่ 1): หน้า 74-82.
ไทยรัฐ. [ออนไลน์]. (2564). ติดตามสถานการณ์เฝ้าระวังการระบาดเชื้อไวรัส โควิด-19 (COVID-19).
เข้าถึงได้จาก: https://www.thairath.co.th/event_corona .
พรพรรณ ศรีโสภา และ ธนวรรณ อาษารัฐ. (2560, กรกฎาคม-ธันวาคม). “บทบาทพยาบาลในการป้องกัน
และจัดการความเครียด.” ใน บูรพาเวชสาร. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 : หน้า 79-92.
ภัทรลดา ปราโมช ณ อยุธยา. [ออนไลน์]. (2560). สวนล้างลำไส้ ทำแล้วดีต่อชีวิต. เข้าถึงได้จาก:
https://mgronline.com/goodhealth/detail/9600000119511
ฤทัยธรรณ์ พตด้วง, อนันตญา จันแดง และ อรณี ผิวศรี. (2559). ผลทันทีของการนวดแบบราชสำนักร่วมกับ
การกัวซาต่ออาการปวดคอ. การศึกษาตามหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต. สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย. คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
โรงพยาบาลศรีวิไล. [ออนไลน์]. (2560). ความเสี่ยงสุขภาพของคนชอบนอนดึกตื่นสาย. เข้าถึงได้จาก:
https://sriwilaihos.moph.go.th/main/index.php?page=article-view-detail&id=13
วัลลีรัตน์ พบคีรี และพิมพ์ณภัส ทับทิม. (2562, พฤษภาคม-สิงหาคม). “การประเมินค่ายสุขภาพตามแนว
การแพทย์ทางเลือกวิถีธรรม.” ใน วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. ปีที่ 17 (ฉบับที่ 2) :หน้า 280-290.
วิชัย เอกทักษิณ. [ออนไลน์]. (2556). สร้างสมดุลตามศาสตร์โบราณ ช่วยคนไทยห่างไกลไวรัสโควิดรัสโควิด
เข้าถึงได้จาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id.
ศรุตานนท์ ชอบประดิษฐ์. (2563, พฤษภาคม–สิงหาคม). “วิกฤตโควิด 19 ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมอย่างไร.” ใน วารสารชัยภูมิปริทรรศน์. ปีที่ 3 (ฉบับที่ 2): หน้า 1-14.
โศรยา ธรรมรักษ์. (2563). อาหารสมุนไพรเสริมภูมิคุ้มกันในภาวะที่มีการระบาดของโควิด-19. กลุ่มงานเภสัชกรรม
และกลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร.
อัญชลี ชุ่มบัวทอง. (2552). “ วงจรการนอนหลับ.” ใน วารสารวิชาการสาธารณสุข. ปีที่ 18. หน้า :394- 304.
Ahn DG, Shin HJ, Kim MH, et al. (2019). “Current status of epidemiology, diagnosis, therapeutics
and vaccines for novel coronavirus disease 2019 (COVID-19).” in Journal of Microbiology and Biotechnology 2020. Vol. 30 (No.3) : p 313-324.
Beck G, Habitat GS. (1996). “Immunity and the Invertebrates." in Scientific American.
Vol. 273 (No.5) : p60–66.
Camous X, Pera A, Solana R, Larbi. (2012). “NK Cells in Healthy Aging and Age-Associated
Diseases.” in Journal of Biomedicine and Biotechnology. 2012:1–8.
Centers for Disease Control and Prevention. (2020). “in children -United States, February 12-
April 2, 2020.” In MMWR Morbidity and mortality weekly report. Vol. 69 ( No.14)
p: 422-426.
Fontaine DK.. (1993). Sleep and the critically ill patient. In: Kinney MR, Packa DR, Dunbar SB,
editors. AACN’s clinical reference for critical care nursing. 3 rd ed. St. Louis: Mosby Year Book; 1993. p. 351-64.
Karijo, E. et.al. [online]. (2020, 27 August). Knowledge, attitudes, practices, and the effects
of COVID-19 on health seeking behaviors among young people in Kenya. Retrieved from https://www.researchsquare.com/article/rs-34861/v1.
Janeway Jr CA, Medzhitov R. (2002). “Innate immune recognition.” in Annual review of
immunology. Vol.20 (No. 1) p:197-216.
Pawelec G., (1999). “ Immunosenescence : impact in the young as well as the old.”
In Mech Ageing Dev. 108:1–7.
Pedersen BK, Ullum H. (1994). “NK cell response to physical activity: possible mechanisms
of action.” in Med Sci Sports Exerc. Vol. 26(No.2) p:140-6.
Pike JL, et al. (1997). “Chronic Life Stress Alters Sympathetic, Neuroendocrine, and Immune
Responsivity to an Acute Psychological Stressor in Humans.” in Psychosomatic Medicine. 59 : 447-457.
Maggini S, Pierre A and Calder P. (2018). “Immune Function and Micronutrient Requirements
Change over the Life Course.” in Nutrients. Vol.10 (No.10) p :1531.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-01-03