มะพูด ไม้ผลที่มีสรรพคุณเป็นยา

Main Article Content

วัฒนา ชยธวัช

บทคัดย่อ

องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติได้รายงานว่า มะพูด จัดอยู่ในกลุ่มพืชผลไม้ที่พัฒนาเป็นต้นไม้สำหรับสวนในบ้านตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 เนื่องจากผลดิบนำมาใช้แกงส้มได้ ผลสุกเปรี้ยวอมหวานรับประทานสด หรือกวนเป็นแยมรสชาติดี เปลือกต้นมีรสฝาดใช้ชำระล้างแผลและสีย้อมผ้า ส่วนเปลือกต้นมีสารแซนโทนและ และ ไตรเทอร์ปิน สารในกลุ่มแซนโทนเป็นพฤกษเคมีทำหน้าที่ในการต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) ยับยั้งการตายของเซลล์ (anti-apoptosis) การยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็ง (anti-proliferative) ฤทธิ์ลดอาการปวด (antinociceptive) ต้านการอักเสบ (anti-inflammation) ป้องกันการตายเซลล์ประสาท (neuroprotective) ลดน้ำตาลในเลือด (hypoglycemic) และ ต้านโรคอ้วน (anti-obesity) การปลูกมะพูดเป็นการอนุรักษ์ไม้ผลประจำถิ่นแต่สำหรับผู้ประกอบการแล้ว มะพูดยังมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นยา เครื่องสำอาง และอาหาร

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

๑๐๘ พรรณไม้ไทย. (2019). มะพูด. เข้าถึงเมื่อ ธันวาคม 1, 2562, จาก https://www.panmai.com/Direction /Tree_NW_1.shtml.
กรมหลวงวงศาธิราชสนิท. (2546). ตำราสรรพคุณยา (ฉบับโบราณ). กรุงเทพ ฯ: บุ๊คคอร์นเนอร์.
กองการประกอบโรคศิลปะ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2541). ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย.
ควอลิตี้ พลัส เอสเทติค อินเตอร์เนชั่นแนล (บริษัทจำกัด). (2019). สารสกัดแซนโทนบริสุทธิ์ (Purify Xanthone) จากเปลือกมังคุด. เข้าถึงเมื่อ ธันวาคม 1, 2562, จาก https://www.qualityplus.co.th/quality-plus-deep-technology/deep-biotechnology/purify-xanthone/
เชาวน์ กสิพันธุ์. (2522). ตำราเภสัชศึกษา. ม.ป.ท.
ชนะ วันหนุน. (ม.ป.ป.). มะพูด. งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา. เข้าถึงเมื่อ ธันวาคม 1, 2562, จาก http://158.108.70.5/botanic/6ma/Garcinia. html
ชยันต์ พิเชียรสุนทร, แม้นมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงศ์. (2544). คำอธิบาย ตำราพระโอสถพระนารายณ์. กรุงเทพ ฯ: สำนักพิมพ์อมรินทร์.
ไทยเกษตรศาสตร์. (2555 ธันวาคม 2). สีเหลืองน้ำตาลจากเปลือกต้นมะพูด. เข้าถึงเมื่อ ธันวาคม 1, 2562, จาก https://www.thaikasetsart.com/เปลือกต้นมะพูด/
โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ วัดพระเชตุพน ฯ (วัดโพธิ์). (2520). ประมวลสรรพคุณยาไทย (ภาคสาม) ว่าด้วย พฤกษชาติ วัตถุธาตุ และสัตว์วัตถุนานาชนิด. กรุงเทพ ฯ: นำอักษรการพิมพ์. หน้า 29.
เสงี่ยม พงษ์บุญรอด. (2522). ไม้เทศเมืองไทย สรรพคุณยาเทศและยาไทย. กรุงเทพ ฯ: เกษมบรรณกิจ
สุนทร ทองนพคุณ. (2541). คู่มือนักทำยา พิมพ์ครั้งที่ 2. ม.ป.ท.
สำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร. (2550). "มะพูด". เข้าถึงเมื่อ ธันวาคม 1, 2562, จาก http://www.bangkok.go.th/publicpark/
สำนักวิจัยและพัฒนาหม่อนไหม กรมหม่อนไหม. (2558 กุมภาพันธ์ 17). พันธุ์ไม้ย้อมสีที่ให้สีติดคงทนต่อแสงและการซัก. เข้าถึงเมื่อ ธันวาคม 1, 2562, จาก https://www.qsds.go.th/osrd_new/inside_page.php? pageid=11
สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2543). แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ภูมิปัญญาทางการแพทย์และมรดกทางวรรณกรรมของชาติ. กรุงเทพ ฯ: องค์การค้าคุรุสภา.
สายสนม กิตติขจร. (2526). ตำราสรรพคุณ สมุนไพรยาไทยแผนโบราณ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรไทย.
สวนพฤกษศาสตร์คลองไผ่. (ม.ป.ป.). มะพูด. สำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี. เข้าถึงเมื่อ ธันวาคม 1, 2562, จาก http://www.rspg. or.th/plants_data/kp_bot_ garden/kpb_11-3.htm
บ้านและสวน. (2016, พ.ค. 27). มะพูด. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. เข้าถึงเมื่อ ธันวาคม 1, 2562, จาก https://www. baanlaesuan.com/plants/palm-cycad/137171.html
พินัย ห้องทองแดง. (2548). พรรณไม้ย้อมสีธรรมชาติ. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี. เข้าถึงเมื่อ ธันวาคม 1, 2562, จาก http://122.154.22.188 /webtreecolor/tree.php?idtree=8
หลวงประเสริฐวิทยาศาสตร์ (ถนอม บุณยะกมล รวบรวม). (2494). ตำราสรรพคุณยาไทย. พระนคร: โรงพิพม์ใต้เชียง.
อุทัย สินธุสาร. (2542). สมุนไพรร้านเจ้ากรมเป๋อ. กรุงเทพ ฯ: อาศรมศิลป์และศาสตร์.

Botero, S., Waliszewski, W. (2018). Monograph Project Agricultural Class 2017-2018. Retrieved December 1, 2019, from https://www.colegiobolivar.edu.co/garden/wp-content/uploads /2019/03/Sofia-Botero-Rata-garcinia-dulcis.pdf
Chanmahasathien, W. (1996). Phytochemical study of Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz bark. Thesis (M.Sc. in Pharm.). Chulalongkorn University-Thailand.
Jansen, P.C.M. (1991). Garcinia L. p. 175-177. In. Plant Resources of South-East Asia 2. Edible fruits and nuts. E.W.M. Verheij and R.E. Coronel (eds.). PROSEA, Pudoc, Wageningen.
Poomopamorn, S. and Kumkong, A. (1997). Edible multipurpose tree species. Faung Fa Printing. Bangkok. 486 pp. (in Thai)
Subhadrabandhu, S. (2001 December). Under-Utilized Tropical Fruits of Thailand. FAO. RAP PUBLICATION: 2001/26 http://www.fao.org/3/ab777e/ab777e05.htm#bm5.12
Ovalle-Magallanes, B., Eugenio-Pérez, D., Pedraza-Chaverri, J. (2017). Medicinal properties of mangosteen (Garcinia mangostana L.): A comprehensive update. Food and Chemical Toxicology, doi: 10.1016/j.fct.2017.08.021.
Xi, Y., H.-Y. Tang H.Y., Zheng, Z.Y. (2009, January). Oral dosage forms of oleanolic acid and their pharmacokinetics. Chinese Journal of New Drugs, 18(6):507-510+515