Characteristics Development of Rice Straw Paper as a Raw Material for Community enterprise Products, Kra-chang Sub District, Samkhok District, Pathum Thani Province

Authors

  • วัฒนา อัจฉริยะโพธา -

Keywords:

Rice Straw Paper, Paper Binders, Paper Properties

Abstract

The rice straw paper sheets that are produced using traditional methods with weak properties for creating and designing various products. Adding binders such as rice flour, glutinous rice flour, and tapioca starch in the ratio 6% per fresh weigh will have positive effect on the rice straw paper in terms of color values, tensile strength and tear strength values, puncture pressure, and bond strength the results of the study were as follows; the color values measured by the L* a* and b* systems found that the rice straw paper using glutinous rice starch binder the L* value was 84.83±0.02, the a* color value was -0.11±0.02, indicating different greener characteristic than other paper. The yellow color, which is the basic color characteristic of rice straw, paper using binder that is tapioca starch has a color b* value of 18.69±0.01 and also gives a brightness value of 48.9%, which gives the highest value. The strength properties of the paper show that paper made from randomly shredded straw pulp has higher characteristics than other rice straw paper. The tensile strength and tear strength values were 21.27 Nm/g and 4.7 mN.m2/g, but rice straw paper mixed with rice flour showed higher values for resistance to puncture pressure and bond strength within the maximum is 1.5 kPa.m2/g and 266.29 J/m2. The satisfaction results for rice straw paper that received the highest overall satisfaction score were paper made from randomly shredded straw pulp than other rice straw paper, which received high overall liking score got score of 4.16, the rice straw paper with addition of rice flour which is the binder received an overall accepted score of 3.33. Such characteristics that paper has whiteness and brightness can be used as a material for drawing and the strength of paper is a guideline for community product development.

Downloads

References

จุฬาลักษณ์ จารุจุฑารัตน์, วงศ์ทอง เขียนวงศ์ และจักฤษณ์ พนาลี. (2561). การออกแบบบรรจุภัณฑ์เสริมภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์จากฟางข้าวสำหรับผลิตภัณฑ์ผลไม้แช่อิ่ม กรณีศึกษา: ชุมชนสี่แยกบ้านแขก แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. วารสารสารสนเทศ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 17(2), 35-44.

ชัยพร สามพุ่มพวง, รังสินี โสธรวิทย์, วุฒินันท์ คงทัด และวารุณี ธนะแพสย์. (2550). การพัฒนากระบวนการผลิตกระดาษฟางข้าวแบบพื้นบ้าน. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45: สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหกรรมเกษตร (น. 332-337). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธนพรรณ บูญรัตกลิน, ทรงสิริ วิชิรานนท์ และ อุดม พลเยี่ยม. (2545). การพัฒนาผลิตภัณฑ์กระดาษจากฟางข้าว. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตโชติเวช.

ภาวิณี เทียมดี และ บวรรัตน์ บึ้งสลุง. (2562). การประยุกต์ใช้แป้งมันสำปะหลัง 2 สายพันธุ์เพื่อผลิตถุงเพาะชำพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ. วารสารวิจัยราชภัฏพระนครสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 14(2), 62-75.

วรรณภา อาบสุวรรณ. (2562). การพัฒนากระดาษฟางข้าวเคลือบฟิล์มลามิเนตสำหรับผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์ (วิทยานิพนธ์คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต). ปทุมธานี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

วรินธร บุญยะโรจน์. (2559). การผลิตกระดาษทำมือจากหญ้าชันกาด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

สุมาลี ทองรุ่งโรจน์. (2555). ออกแบบบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ: วาดศิลป์.

อรนุช คำแปน, ญาดา ลูนเฉริญ และชนิดา สายปัญญา. (2560). การพัฒนากระดาษจากฟางข้าวสำหรับงานดอกไม้ประดิษฐ์ บ้านขามสุ่มเวียง อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการ เทคโนโลยีอุตสาหากรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 2(5), 49-58.

อรัญ วานิชกร. (2559). การออกแบบผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Leulee Nortoualee. (2564). การเพิ่มมูลค่าฟางข้าวโดยการผลิตเป็นกระดาษบรรจุภัณฑ์ (วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). เชียงใหม่. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

Downloads

Published

2024-06-30

Issue

Section

Research Article