การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน เรื่อง สงครามยุทธหัตถี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ผู้แต่ง

  • อิงอร วงษ์ศรีรักษา -

คำสำคัญ:

การ์ตูนแอนิเมชัน, สงครามยุทธหัตถี, สมเด็จพระนเรศวร

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน เรื่อง สงครามยุทธหัตถี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการ์ตูนแอนิเมชัน เรื่อง สงครามยุทธหัตถี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ประเมินโดยผู้ใช้ จำนวน 30 คน  เครื่องมือในการวิจัย คือ การ์ตูนแอนิเมชัน เรื่อง สงครามยุทธหัตถี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และแบบประเมินความพึงพอใจต่อการ์ตูนแอนิเมชัน  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ผลการวิจัยเป็นดังนี้ 1) การ์ตูนแอนิเมชัน เรื่อง สงครามยุทธหัตถี ได้พัฒนาขึ้นในลักษณะการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เนื้อหาเกี่ยวกับเหตุการณ์การทำยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรแห่งกรุงศรีอยุธยา กับพระมหาอุปราชาแห่งกรุงหงสาวดี ในปี พ.ศ. 2135 มีความยาว 7.10 นาที เผยแพร่แบบออนไลน์ผ่านลิงก์ https://shorturl.at/ejWY3 และผ่านยูทูป https://youtu.be/FqUlTryC-mY และ 2) ผลประเมินความพึงพอใจต่อการ์ตูนแอนิเมชัน เรื่อง สงครามยุทธหัตถี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5   พบว่า ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.65, S.D.=0.38)         

Downloads

Download data is not yet available.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมศิลปากร. (2566). องค์ความรู้ : เกร็ดประวัติศาสตร์จากการยุทธหัตถี. สืบค้นจาก https://www. finearts.go.th/promotion/view/7817- องค์ความรู้---เกร็ดประวัติศาสตร์จากการยุทธหัตถี.

จันทร์สุดา ไชยประเสริฐ. (2564). การ์ตูนประวัติศาสตร์ไทย : พลวัตของเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์. ศิลปะศาสตร์ปริทัศน์. 16(2), (171-190). สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/ larhcu/article/view/249407/172938.

ดารัตน์ จันทสาร. (2558). การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้นจาก http://thesis.swu.ac.th/ swuthesis/Ed_Tech/Darat_C.pdf.

ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. (2546). มัลติมีเดีย. กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์.

บุษกร โคเงิน, ธันย์ชนก เหล่าเขตกิจ, อมีนา ฉายสุวรรณ, และชุมพล จันทร์ฉลอง. (2565). ผลการใช้ การ์ตูนแอนิเมชัน เพื่อส่งเสริมความรู้และป้องกันโรคฟันผุในเด็ก เรื่อง หมีน้อยฟันผุ. วารสารวิจัย และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 3(1), 51-62.

วศิน ปัญญาวุธตระกูล. (2566). สมเด็จพระนเรศวรมหาราช “มหากษัตริย์ชาตินักรบผู้กอบกู้เอกราช แผ่นดิน”. สืบค้นจาก https://www.personnel.nu.ac.th/home/images/data/file/hrm/2560/01/document/02.pdfbclid=IwAR21nXueU6hB2HMrPybxoCPd7QyrJ5o0tK_ISexGqUM12F--bbpsA3CkjVY.

สมรัก ปริยะวาที. (2560). สร้างสื่อบทเรียน Multimedia Online 2D Animation. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น.

สันติภาพ วงศ์แก้วโพธิ์ทอง. (2558). รายงานการวิจัยนักศึกษาปริญญาตรี เรื่อง การพัฒนาการ์ตูน แอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง สายเกิน. สืบค้นจาก http://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2559/M119335/Wongkeawphothong%20Santipap.pdf.

สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (2565). ประวัติศาสตร์อยุธยา. สืบค้นจาก https://go.ayutthaya.go.th/ประวัติศาสตร์อยุธยา/.

สุเจน กรรพฤทธิ์. (2550). จากวังจันทน์สู่เวียงแหง ตามรอยนเรศวรมหาราช นอกกรอบประวัติศาสตร์ชาตินิยม. กรุงเทพฯ : สารคดี.

สุรินทร์ ฉ่ำมาก. (2561). การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชันวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง กาล (Tense) สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. สืบค้นจาก http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/bitstream/123456789/3389/1/RMUTT%20159682.pdf.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-30

ฉบับ

บท

บทความวิจัย