อาหารสำหรับสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในยุคชีวิตวิถีใหม่

ผู้แต่ง

  • มนัญญา คำวชิระพิทักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

คำสำคัญ:

อาหารผู้สูงอายุ, สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์, โภชนาการ

บทคัดย่อ

ขณะนี้ประเทศไทยจัดเป็น “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” ดังนั้นเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ชีวิตได้อย่างยืนยาวอย่างมีความสุข  ในแง่ของการบริโภคอาหารจึงต้องมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงทางประสาทสัมผัสและการรับประทานอาหารในผู้สูงอายุ  โภชนาการโดยใช้ “ธงโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ” และการใช้โภชนบัญญัติ 9 ประการสำหรับผู้สูงอายุ และอาจรวมถึงอาหารตามธาตุการปรับเปลี่ยนรูปแบบอาหารที่รับประทานให้เหมาะสม การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารที่สามารถส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อให้ได้สารอาหารที่เหมาะสมกับวัยและการเปลี่ยนแปลงของสภาพร่างกายรวมถึงการพัฒนานวัตกรรมอาหารสุขภาพที่ดัดแปลงเนื้อสัมผัสและความข้นหนืดเพื่อรองรับสำหรับผู้สูงอายุในชีวิตวิถีใหม่

Downloads

Download data is not yet available.

References

กลุ่มส่งเสริมโภชนาการผู้สูงอายุ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย. (2562). ตำรับอาหารผู้สูงอายุมีปัญหาการเคี้ยว. กรุงเทพ: บริษัทสามเจริญพาณิชย์ จำกัด.

กุลพงษ์ ชัยนาม. (2563). การเปลี่ยนแปลงทางประสาทสัมผัสและการรับประทานอาหารในผู้สูงอายุ. วารสารโภชนบำบัด, 28(1), 64-74.

เกณิกา จันชะนะกิจ. (2559). อาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 3(2), 1-11.

จินตนา สุวิทวัส. (2556). การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการบริโภคอาหารตามธาตุเจ้าเรือน. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 11(2), 162-169.

ฐิตินันท์ นาคผู้ และอาจินต์ สงทับ. (2562). พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 13(1), 48-54.

ณฐิฒา รอดขวัญ. (2564). การดัดแปลงเนื้อสัมผัสอาหารสําหรับผู้สูงอายุ. วารสารอาหาร, 51(2), 23-30.

ทิพวัลย์ สุวรรณรักษ์. (2560). นวัตกรรมอาหารสุขภาพสำหรับผ้สูงอายุ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 11 (3), 1-10.

เนตรนภิส วัฒนสุชาติ (ผู้รวบรวม). (2561). อาหารนุ่ม...เมนูอร่อย เพื่อสุขภาพผู้สูงวัย. สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ: บริษัท สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง จำกัด.

ปิยะภัทร เดชพระธรรม. (2556). ปัญหาการกลืนในผู้สูงอายุ (Dysphagia in Elderly). เวชศาสตร์ฟื้นฟูสาร, 23(3), 73-80.

พรรณภัทร อินทฤทธิ์. (2560). การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย. วารสารหมอยาไทยวิจัย, 3(2): 35-42.

พีรพัศ อึ้งประเสริฐ, ประพิณวดี ศิริศุภลักษณ์, และ สันติ แสงเลิศไสว. (2561). คุณลักษณะอาหารสําหรับผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร. เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ UTCC Academic Day ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. วันที่ 8 มิถุนายน 2561. หน้า 736-747.

มนัญญา คำวชิระพิทักษ์. (2560). รายงานการวิจัยนวัตกรรมผลิตภัณฑ์เสริมอาหารชนิดผงสำเร็จจากแป้งข้าวฮางงอกดัดแปรสำหรับผู้ที่มีภาวะกลืนลำบาก. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปทุมธานี.

วรัญญา เตชะสุขาวร, ปาณิสรา เจริญพร, และ เปรมิกา อังษานาม. (2562). มาตรฐานของอาหารดัดแปลงเนื้อสัมผัสสำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะกลืนลำบาก. วารสารโภชนบำบัด, 27(2), 40-56.

วีณา ทองรอด, รสพร เจียมจริยธรรม, ชิตพล พรมเล็ก, ณัฐณิชา ศุภพิศาล, และ มณทิชา งามจรัสธรรม. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑประเภทอาหารหนืดข้นพร้อมทานเสริมใยอาหารจากแป้งรำข้าวสําหรับผู้สูงอายุ. Life Sciences and Environment Journal, 22(1), 62-71.

วีระวัลย์ กรมงคลรักษ์. (2559). รายงานผลการพัฒนาตำรับอาหารท้องถิ่นสำหรับผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: สำนักโภชนาการกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข.

ศิริรัตน์ จำนงค์จิตต์, นพวรรณ เปียซื่อ, นรีมาลย์ นีละไพจิตร, และ สิรินทร ฉันศิริกาญจน. (2563). ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการกับความเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2), 192-202.

ศิริรัตน์ ปานอุทัย, โรจนี จินตนาวัฒน์, และ ฐิตินันท์ ดวงจินา. (2563). การทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบาก. พยาบาลสาร, 47(1), 488-501.

สุพรรณิการ์ สุภพล. (2563). พฤติกรรมและความต้องการผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยานครพนม, 10(3), 12-21.

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์. (2562). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2562. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (ออนไลน์) สืบค้นจาก https://www.dop.go.th/download/ knowledge/th1635859856-984_0.pdf.

สำนักงานราชบัญฑิตยสภา. (2563). ศัพท์บัญญัติของสำนักงานราชบัญฑิตยสภา. (ออนไลน์) สืบค้นจาก https://royalsociety.go.th/.

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย. (2564). สูงวัยกินอาหารอะไรดีส่งเสริมสุขภาพของอวัยวะที่สำคัญ. (ออนไลน์) สืบค้นจาก https://nutrition2.anamai.moph.go.th/th/book/download/ ?did=206126&id=80277&reload=,.

อลงกต สิงห์โต, อุไรภรณ์ บูรณสุขสกุล, และ นริศา เรืองศรี. (2562). การศึกษาพฤติกรรมการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนที่มีผลต่อประวัติการเจ็บป่วยตามธาตุเจ้าเรือนของตนเอง. Thammasat Medical Journal, 19 (Supplement August 2019), S116-S124.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-30