การบริหารวัสดุคงคลังของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สแตนเลสขนาดเล็ก

Main Article Content

จรินทร์ ทรัพย์สิงห์
สุนทร แสงเพ็ชร

บทคัดย่อ

ในงานวิจัยนี้ นำเสนอการบริหารวัสดุคงคลังของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สแตนเลสขนาดเล็ก จากปัญหาการขาดแคลนวัสดุคงคลังทำให้เกิดความเสียหายแก่องค์กร จึงนำเอาหลักการบริหารวัสดุคงคลังนำมาใช้เพื่อแก้ปัญหา ในการสั่งซื้อวัสดุในจำนวนที่เหมาะสมไม่มากเกินไปและไม่น้อยจนกระทั่งขาดแคลน จากกณีศึกษาตัวอย่าง บริษัท พี เอ็ม คอนเวอร์เยอร์ ซัพพลาย จำกัด เป็นบริษัทผลิตภัณฑ์สแตนเลสขนาดเล็ก เกิดปัญหาด้านการผลิตสินค้า ส่งผลให้เกิดความเสียหายด้านการเงิน และความเชื่อมั่นของลูกค้า ผู้วิจัยได้นำเสนอหลักการ ROP (Re-Order Point) จุดสั่งซื้อ เพื่อนำมาแก้ปัญหาของบริษัทดังกล่าว จะเห็นว่าสามารถลดต้นทุนการผลิต ลดความเสียหาย ดังแสดงให้เห็นในงานวิจัยนี้


คำสำคัญ: จุดสั่งซื้อ, สินค้าคงคลัง

Article Details

How to Cite
ทรัพย์สิงห์ จ., & แสงเพ็ชร ส. (2020). การบริหารวัสดุคงคลังของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สแตนเลสขนาดเล็ก. วารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม, 6(2), 30–38. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JEET/article/view/217469
บท
บทความวิจัย

References

[1] พิชิต สุขเจริญพงษ์.การจัดการวิศวกรรมการผลิตพิมพ์ครั้งที่ 2 .กรุงเทพ:ซีเอ็ดยูเคชั่น, 26547

[2] พิภพลลิตาภรณ์. การบริหารของคงคลัง ระบบ MRP และ ROPพิมพ์ครั้งที่ 5 . กรุงเทพ ฯ : สมาคม ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), สำนักพิมพ์ ส.ส.ท., 2546

[3] ชัยยนต์ ชิโนกุล, การจัดการโซ่อุปทานและลอจิสติกส์ พิมพ์ครั้งที่1 . มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2547

[4] ชนินทร์ คุณรักษา.ระบบพัสดุคงคลังสำหรับอะไหล่ซ่อมบำรุง : กรณีศึกษาโรงงานผลิตปูนซีเมนต์แห่งหนึ่งวิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ: 2541

[5] สุขสันติ์ เหล่ารักกิจการ.การควบคุมพัสดุชิ้นส่วนคงคลังจากผู้ผลิตชิ้นส่วนวิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ:2542

[6] Pisal Yenradee, Anulark Pinnol and Amnaj Charoenthevornying, 2001, “Demand Forecasting and Production Planning for High Seasonal Demand Situations : Case Study of Pressure Container Factory.” Science Asia 27, pp. 271-278.