ศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานชีวมวลของชุมชนห่างไกล ในจังหวัดตาก

Main Article Content

ธีรศิลป์ กันธา
อังคณา ตาเสนา
เอกรัฐ ปัญญาเทพ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของชุมชน และศักยภาพของชุมชนในการผลิตไฟฟ้าจากพลังชีวมวล ในพื้นที่ตำบลโมโกร อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก ซึ่งวิธีดำเนินการวิจัยนั้นเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่าชุมชนตำบลโมโกร อำเภออุ้งผาง จังหวัดตาก ยังเป็นชุมชนที่เป็นปัญหาในการใช้ไฟฟ้า แต่อย่างไรกตามในชุมชนก็ยังมีศักยภาพทางด้านการใช้พลังงานชีวมวล รวมถึงศักยภาพในเรื่องของวัตถุดิบในการผลิตพลังงานชีวมวลเป็นอย่างมาก ซึ่งระบการผลิตไฟฟ้าพลังงานชีวมวลที่เหมาะสมกับชุมชน คือ ระบบผลิตก๊าซเชื้อเพลิงชีวมวล (Gasification)

Article Details

How to Cite
กันธา ธ., ตาเสนา อ., & ปัญญาเทพ เ. (2017). ศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานชีวมวลของชุมชนห่างไกล ในจังหวัดตาก. วารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม, 4(2), 38–45. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JEET/article/view/186880
บท
บทความวิจัย

References

1. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2559). สรุปสระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา http://www.nesdb.go.th/download/plan12/สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่12.pdf, เข้าดูเมื่อวันที่23/06/2560

2.แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ.2558-2579 (Alternative Enegy Development Plan : AEDP 2015), [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา http://www.dede.go.th/download/files/AEDP 2015_Final_version.pdf, เข้าดูเมื่อวันที่23/06/2560

3. มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (ม.ป.ป) ประโยชน์ของโรงไฟฟ้าชีวมวล, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา http://www.efe.or.th/datacenter/ckupload/ files/EFE%20LAY4.pdf. เข้าดูเมื่อวันที่23/06/2560

4.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ม.ป.ป) คู่มือการคำนวณข้อมูลทุติยภูมิ โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ , [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา http://www.thaienergydata.in.th/update_province.php, เข้าดูเมื่อวันที่23/06/2560

5.สำนักงานเกษตรอำเภออุ้มผาง (ม.ป.ป). ข้อมูลพื้นฐานทางการเกษตร, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา http:// Umphang.Tak.doae.go.th/, เข้าดูเมื่อวันที่23/06/2560

6.กนก กล่อมจิตร และเกีรติยุทธ กวีญาณ (2554). พลังงานหมุนเวียนที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทยภายใต้วิกฤตการณ์โลกร้อน, วารสารวิศกรรมสาร มก,76 (24) เมษายน-มิถุนายน 2554, หน้า 23-32

7. ฐกฤต ปานขลิบ (2557). โรงไฟฟ้าชีวมวลชุมชนที่ใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็นเชื้อเพลิง, วารสารสังคมศาสตร์, 3 (2) กรกฎาคม – ธันวาคม, หน้า 56-63

8. วิสาขา ภู่จินดา (2552). การประยุกต์หลักปรัชญาเศษฐกิจพอเพียงในการจัดการพลังงานชุมชน, วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม, 5 (2) กรกฎาคม – ธันวาคม 2522, หน้า 118-136