การจัดการทรัพยากรชีวมวลที่เหมาะสมสู่การลงทุนในอุตสาหกรรมผลิตเอทานอล
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยมุ่งเน้นถึงการประเมินความคุ้มค่าในการผลิตเอทานอลสู่ชุมชนโดยใช้พืชชีวมวล 4 ชนิด ได้แก่ ฟางข้าว(Oryza sativa L.) หญ้า(Chylocheilichthys apogon) ปาล์มน้ำมัน(Elaeis guineensis Jacq.) และ ผักตบชวา (Eichhornia crassipes) แล้วศึกษาค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) และ ระยะเวลาคืนทุน (PB) พบว่า พืชชีวมวลทั้ง 4 ชนิด สามารถสร้างกำไรในปีแรกได้มากถึงประมาณ 400,000 บาท ต่อปี ซึ่งมีระยะเวลาการคืนต้นทุนประมาณเดือนที่ 5 ถึง เดือนที่ 7 เท่านั้น แต่ฟางข้าวจัดเป็นพืชที่ให้ ผลกำไร ค่า NPV และ PB ของปีที่ 1 เท่ากับ 604,800 บาท 391,144.31 และ 0.41 ปี ตามลำดับ ซึ่งเป็นผลการเปรียบเทียบดีที่สุดเมื่อเทียบกับพืชกลุ่มอื่นในช่วงเวลาเดียวกัน อย่างไรก็ตามถ้ามีการจัดการพืชชีวมวล ทั้ง 4 ชนิด อย่างเหมาะสม ก็เป็นทางออกหนึ่งที่สามารถช่วยส่งเสริมให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง และยั่งยืน นอกจากนี้ยังสามารถลดวัสดุที่เหลือทิ้งทางการเกษตรและวัชพืช และสามารถแก้ไขวิกฤติพลังงานอีกทางหนึ่ง
Article Details
เนื้อหาและข่อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือว่าร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม หากบุคคล หรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาต เป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เท่านั้น
References
[2] Pongpiachan, S., Tipmanee, D., Khumsup, C., Kittikoon, I., and Hirunyatrakul, P. (2015). Assessing risks to adults and preschool children posed by PM2.5-bound polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs) during a biomass burning episode in Northern Thailand. Science of The Total Environment, 508(0), 435-444.
[3] Huang, Y.F., Shih, C.H., Chiueh, P.T., and Lo, S.L. (2015). Microwave co-pyrolysis of sewage sludge and rice straw. Energy, 87(0), 638-644.
[4] Singh, R., Srivastava, V., Chaudhary, K., Gupta, P., Prakash, A. and Balagurumurthy, B. (2015). Conversion of rice straw to monomeric phenols under supercritical methanol and ethanol. Bioresource Technology, 188(0), 280-286.
[5] Murphy, H.T., O’connell, D.A., Raison, R.J., Warden, A.C., Booth, T.H., Herr, A., Braid, A.L., Crawford, D.F., Hayward, J.A., Jovanovic, T., Mcivor, J.G., O’connor, M.H., Poole, M. L., Prestwidge, D., Raisbeck-Brown, N. and Rye, L. (2015). Biomass production for sustainable aviation fuels: A regional case study in queensland. Renewable and Sustainable Energy Reviews, 44(0), 738-750.
[6] Wall, D.M., Straccialini, B., Allen, E., Nolan, P., Herrmann, C., O’kiely, P. and Murphy, J.D. (2015). Investigation of effect of particle size and rumen fluid addition on specific methane yields of high lignocellulose grass silage. Bioresource Technology, 192(0), 266-271.
[7] Zainudin, M.H.M., Hassan, M.A., Tokura, M. and Shirai, Y. (2013). Indigenous cellulolytic and hemicellulolytic bacteria enhanced rapid co-composting of lignocellulose oil palm empty fruit bunch with palm oil mill effluent anaerobic sludge. Bioresource Technology, 147(0), 632-635.
[8] Xia, A., Cheng, J., Song, W., Yu, C., Zhou, J. and Cen, K. (2013). Enhancing enzymatic saccharification of water hyacinth through microwave heating with dilute acid pretreatment for biomass energy utilization. Energy, 61(0), 158-166.
[9] Lopes, D.G., Da Silva, E.P., Pinto, C.S., Neves Jr, N.P., Camargo, J.C., Ferreira, P.F.P., Furlan, A.L. and Lopes, D.G. (2012). Technical and economic analysis of a power supply system based on ethanol reforming and pemfc. Renewable Energy, 45(0), 205-212.
[10] Schmit, T.M., Luo, J. and Tauer, L.W. (2009). Ethanol plant investment using net present value and real options analyses. Biomass and Bioenergy, 33(10), 1442-1451.
[11] Di-Luccio, M., Borges, C.P. and Alves, T.L.M. (2002). Economic analysis of ethanol and fructose production by selective fermentation coupled to pervaporation: Effect of membrane costs on process economics. Desalination, 147(1–3), 161-166.
[12] Fasahati, P., Yi, G. and Liu, J. (2012). Techno-economic analysis of ethanol production from marine biomass, in: A.K. Iftekhar and S. Rajagopalan (Eds) Computer aided chemical engineering. (vol. Volume 31), Elsevier, 780-784.
[13] Kelloway, A., Tsapatsis, M. and Daoutidis, P. (2015). Techno-economic analysis of ethanol-selective membranes for corn ethanol-water separation, in: J. K. H. Krist V. Gernaey and G. Rafiqul (Eds) Computer aided chemical engineering. (vol. Volume 37), Elsevier, 365-370.
[14] Vučurović, D.G., Dodić, S.N., Popov, S.D., Dodić, J.M. and Grahovac, J.A. (2012). Process model and economic analysis of ethanol production from sugar beet raw juice as part of the cleaner production concept. Bioresource Technology, 104(0), 367-372.
[15] ศรีอุบล ทองประดิษฐ์, อดุลย์สมาน สุขแก้ว, ธีระพงค์ หมวดศรี, ปาริฉัตร นิลอุปถัมภ์ และ น้อมจิตต์ แก้วไทย อันเดร (2558). การประเมินผลความคุ้มค่าของการผลิตเอทานอลจากกากน้ำตาลด้วยเชื้อยีสต์
Saccharomyces cerevisiae TISTR 5339 เพื่อการลงทุนในระดับชุมชน, การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทยครั้งที่ 11, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, หน้า 1,344-1352.