การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์ดีเซลของไบโอดีเซลจากเมล็ดกระทิง

Main Article Content

ชัยณรงค์ หล่มช่างคำ
ฐิติมา แก่นท้าว
นิโรจน์ วงศ์เมืองแก่น

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์ดีเซลของไบโอดีเซลจากเมล็ดกระทิงในอัตราส่วนผสมโดยปริมาตร ผลการทดสอบพบว่า คุณสมบัติทางกายภาพของน้ำเมล็ดกระทิง จะสูงกว่าน้ำมันดีเซลเมื่ออัตราส่วนผสมของน้ำมันที่มากขึ้น ขณะที่ค่าความร้อนของน้ำมันจะลดลงตามอัตราส่วนผสมที่เพิ่มสูงขึ้น สำหรับค่าแรงบิดและค่ากำลังงานเบรกของเครื่องยนต์ พบว่าแรงบิดและกำลังงานเบรกของเครื่องยนต์ สูงกว่าเครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมันดีเซล มีอัตราการสิ้นเปลืองน้ำมันจำเพาะเบรกของเครื่องยนต์มากกว่าน้ำมันดีเซลประมาณ 2-4 เปอร์เซ็นต์ และค่าเปอร์เซ็นต์ควันดำในไอเสียมีค่ามากที่สุดคือ 20 เปอร์เซ็นต์ แต่ก็ยังต่ำกว่ามาตรฐานทางราชการกำหนดไว้สูงสุดไม่เกิน 50 เปอร์เซ็นต์ 


 

Article Details

How to Cite
หล่มช่างคำ ช., แก่นท้าว ฐ., & วงศ์เมืองแก่น น. (2016). การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์ดีเซลของไบโอดีเซลจากเมล็ดกระทิง. วารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม, 3(1), 21–28. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JEET/article/view/180621
บท
บทความวิจัย

References

[1]. Atabania, A.E., A.S. Silitongaa, T.M.l. Mahliaa, and H.H. Masjukia. (2011). Calophyllum inophyllum L. AS A Futuer Feedstock for Bio-Diesel Prodution, IGEC : 12(6-084), (online). December 2011, Available online : http:agroforestry.net/scps.

[2]. ชุมสันติ แสนทวีสุข อุดลย์ จรรยาเลิศอดุลย์ และ พิสิษฐ์ เดชะรุ่งไพศาล (2549). สมบัติทางกายภาพของน้ำมันสบู่ดำและสมรรถนะของเครื่องยนต์ดีเซลที่ใช้น้ำมันสบู่ดำเป็นเชื้อเพลิง, วารสารวิศวกรรม มข, 17, พฤศจิกายน 2549, หน้า 613 – 624.