การประมาณค่าความจุความร้อนของไบโอดีเซล
Main Article Content
บทคัดย่อ
ไบโอดีเซลได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางสำหรับการนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงทางเลือกในเครื่องยนต์ดีเซลความเร็วสูง ในการใช้งานจำเป็นต้องทราบถึงสมบัติทางกายภาพเพื่อออกแบบกระบวนการ และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งค่าความจุความร้อนเป็นหนึ่งในสมบัติทางกายภาพของไบโอดีเซลที่สำคัญเพราะมีผลโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของไบโอดีเซลและยังส่งผลต่อสมบัติทางกายภาพอื่นๆ ในงานวิจัยนี้สนใจศึกษาการประมาณค่าความจุความร้อนของเมทิลไบโอดีเซลโดยประยุกต์ใช้สมการที่พัฒนาจากกฎควบรวมพลังงานอิสระ
ในการศึกษานี้ได้ใช้ข้อมูลจากวรรณกรรมเพื่อสนับสนุนและอ้างอิงความแม่นยำของการทำนาย จากผลการศึกษาพบว่าสมการการทำนายค่าความจุความร้อนของกรดไขมันเมทิลเอสเทอร์ (FAME) ที่อุณหภูมิ 250-390 K พบว่าค่าความจุความร้อนจากการทำนายเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับผลการทดลองได้ค่าความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์ (AD%) อยู่ในช่วง 0.07-2.24% และค่าเฉลี่ย (ADD%) เท่ากับ 0.82% และ 0.92% การใช้งานนอกช่วงอุณหภูมิที่นำเสนอความแม่นยำอาจต่ำลง
Article Details
เนื้อหาและข่อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือว่าร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม หากบุคคล หรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาต เป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เท่านั้น
References
Activities/KM/BioDiesel%20Manual.pdf, [12 มีนาคม 2558].
[2] โครงการเคยู-ไบโอดีเซล, 2550, ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับไบโอดีเซล [Online], Available:
http://www.biodiesel.rdi.ku.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=7&Itemid=12,
[12 มีนาคม 2558].
[3] ลิพิด (lipid) [Online], Available: http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/288%E0%B8%A5%
E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%94+(lipid)?groupid=132, [21 สิงหาคม 2558].
[4] สุริยา พันธ์โกศล, 2556, การโยงสัมพันธ์สมบัติทางกายภาพของไบโอดีเซลกับพารามิเตอร์อุณหพลศาสตร์,
วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีพลังงาน คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ, มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, หน้า 45.
[5] Pauly, J., Kouakou, A.C., Habrioux, M., Mapihan, K., 2014, “Heat capacity measurements of pure fatty acid
methyl esters and biodiesels from 250 to 390 K”, Fuel, Vol. 137, pp. 21-27.
[6] Dzida, M., Prusakiewicz, P., 2008, “The effect of temperature and pressure on the physicochemical properties of petroleum diesel oil and biodiesel fuel”, Fuel, Vol, 87, pp. 1941-1948.
[7] Phankosol, S., & Krisnangkura., 2014, “Estimation kinematic viscosity of biodiesel produced by ethanolysis. in 6thInternation Science, SocialSciences” Engineering and Energy Conference, Prajaktra Design Hotel, UdonThani, Thailand.
[8] Valderrama, J.O., Toro, A., Rojas, R.E., 2011, “Prediction of the heat capacity of ionic liquids using the mass connectivity index and a group contribution method”, The Journal of Chemical Thermodynamics, Vol. 43, pp. 1068-1073.
[9] Ceriani, R., Gani, Rafiqul., Meirelles, A, J.A., 2009, “Prediction of heat capacity and heats of vaporization of organic liquids by group contribution method”, Fluid Phase Equilibria, Vol. 283, pp. 49-55.
[10] ศูนย์เครือข่ายข้อมูลอาหารครบวงจร, ดิฟเฟอเรยเชียลสแกนนิงแคลอริมิเตอร์, [Online], Available:
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2606/differential-scanning-calorimeter [3 มีนาคม 2559].