การประเมินความเสียหายจากความล้าของแผงกั้นเสียงพอลิเมอร์เสริมเส้นใยของรถไฟลอยฟ้า
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในปัจจุบันวัสดุผสมชนิดต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาททางการก่อสร้างในงานวิศวกรรมมากขึ้นโดยวัสดุประเภท นี้สามารถออกแบบให้สอดคล้องกับการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยงานวิจัยนี้ศึกษาคุณสมบัติของวัสดุประเภทพอลิ เมอร์เสริมเส้นใย (FRP) ที่สามารถนำมาใช้ทดแทนคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยที่จะเน้นศึกษาความสามารถในการต้านทานความล้าในส่วนของแผงกั้นเสียงของรถไฟลอยฟ้าซึ่งไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อต้านทาน ต่อแรงสั่นสะเทือนจากตัวขบวนรถและแรงลม ซึ่งในการศึกษานี้จะทำการวิเคราะห์การสั่นสะเทือนของแผงกั้น เสียงของรถไฟลอยฟ้าที่สังเกตเห็นการสั่นสะเทือนจากตาเปล่าได้มากที่สุดซึ่งเดิมเป็นวัสดุคอนกรีตเสริมเส้นใยแก้ว ซึ่งมีน้ำหนักมากและมีอายุการใช้งานน้อยซึ่งกำลังจะถูกทดแทนด้วยพอลิเมอร์เสริมเส้นใย โดยทำการวิเคราะห์ เพื่อให้ทราบว่าโครงสร้างแผงกั้นเสียงที่เป็นวัสดุพอลิ เมอร์เสริมเส้นใยมีอายุการใช้งานได้ยาวนานเพียงใด
Article Details
เนื้อหาและข่อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือว่าร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม หากบุคคล หรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาต เป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เท่านั้น
References
[2] S. Ariduru. “Fatigue Life Calculation by Rain flow Cycle Counting Method.” M.s. thesis, Middle East Technical University, 2004.
[3] MATLAB® 7 Getting started Guide © COPYRIGHT 1984-2008 by The Math Works, Inc.
[4] M. A. Miner. “Cumulative Damage in Fatigue,” Journal of Applied Mechanics, ASME, 12(3), pp. A159 - A164, 1945.
[5] J. Goodman. “Mechanics Applied to Engineering”. Longmans, Green & Co, New York 1899, Reprint of 9th edition, 1954.
[6] A. Palmgren.” Die Lebensdauer von Kugellagern” Verfid-mwsrrchinik, Berlin 1924,
[7] Miner, M. A., “Cumulative damage in fatigue” Applied Mechanics, 1945, 67, A 159-A 164.