การยอมรับการชำระเงินด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ : กรณีศึกษา ชมรมผู้ประกอบการร้านอาหารจังหวัดตรัง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดการยอมรับการรับชำระเงินด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์โดยวิธีทบทวนและสังเคราะห์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นพื้นฐานในการทำงานวิจัยที่สมบูรณ์ในอนาคต จากการศึกษาพบว่าผู้ประกอบการยังไม่ตัดสินใจใช้ระบบการชำระเงินด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ด้วยสาเหตุหลัก คือ 1) ขาดความรู้ความเข้าใจการทำงานของการชำระเงินด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 2) ขาดความมั่นใจในเรื่องความปลอดภัยของระบบการทำงาน 3) ไม่มีอุปกรณ์ที่ทันสมัยเพียงพอต่อการใช้งานและ 4) ขาดบุคลากรรุ่นใหม่ที่สามารถดูแลระบบอันทันสมัยในสถานประกอบการ โดยปัจจัยเหล่านี้เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จะนำไปสู่กระบวนการวิจัยที่สมบูรณ์โดยใช้กรณีศึกษา ผู้ประกอบการร้านอาหารจังหวัดตรัง เป็นลำดับต่อไป
Article Details
เนื้อหาและข่อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือว่าร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม หากบุคคล หรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาต เป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เท่านั้น
References
(2) Ozkan, S., Bindusara, G., & Hackney, R. (2010). Facilitating the adoption of e-payment system: theoretical constructs and empirical analysis. Journal of Enterprise Information Management, 23(3), 305-325.doi:doi:10.1108/17410391011036085
(3) Hsieh, T.C., Yang, K. C., & Yang, (2013). Urban and rural differences: Multileval letent class analysis of online activities and e-payment behavior patterns. Internet Research, 23(2), 204-228. doi:doi:10.1108/10662241311313321
(4) Teoh, W.M.Y., Chong, S.C., Lin, B,. & Chua, J.W.(2013). Factors affecting consumers' perception of electronic payment: an empirical analysis. Internet Research, 23(4), 465-485. doi:doi: 10.1108/IntR-09-2012-0199
(5) Repousis, S. (2016). Money Laundering and Greek banking payment and settlement system. Journal of Money Laundering Control, 19(1), 58-69. doi:doi:10.1108/JMLC-12-2014-0049
(6) Thorpe, R., & Bowey, A. (1988). Payment Systems and Performace Improvement: Design and Implementation. Employee Relation, 10(4), 17-23. doi:doi:10.1108/eb055127
(7) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (2560). เป้าหมาย, แหล่งที่มา http//www.epayment.go.th เข้ามาดูเมื่อวันที่ 05/07/60