การเว็บไซต์ต้นแบบแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านในจังหวัดนราธิวาส
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ต้นแบบเพื่อเผยแพร่แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนาธรรมอาหาร จังหวัดนราธิวาสให้มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ดีขึ้นไปและเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าใช้งานเว็บไซต์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย ผู็เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน และผู้ใช้เว็บไซต์ที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจผ่านระบบออนไลน์ จำนวน 30 คน โดยอาศัยเครื่องมือทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล คือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า เว็บไซต์ต้นแบบที่พัฒนาขึ้นมาผ่านการประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญและมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก (ด้านความถูกต้อง ด้านภาพ และด้านเว็บไซต์และการออกแบบ อยู่ในระดับดีมาก) การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อเว็บไซต์พบว่าผู้ใช้มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด (ด้านภาพ ด้านเนื้อหา ด้านตัวอักษร ด้านเว็บไซต์และการออกแบบ และด้านประโยชน์จากเว็บไซต์ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด)
Article Details
เนื้อหาและข่อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือว่าร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม หากบุคคล หรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาต เป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เท่านั้น
References
(2) ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2542. กรุงเทพ: ราชบัณฑิตยสถาน.
(3) สุพัตรา สุภาพ (2546). สังคมวิทยา, กรุงเทพ: สำนักงานพิมพ์จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
(4) เสถียร โกเศศ. (2515). วัฒนธรรมเบื้องต้น. พระนคร: สำนักงานพิมพ์ราชบัณฑิตยสถาน.
(5) รัตนา สถิตานนท์. (2520). วิเคราะห์สุภาษิตและวัฒนธรรมไทย. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
(6) รัชนีกร เศรษโฐ (2532). โครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมไทย, กรุงเทพ: สำนักงานพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช
(7) องค์การบริหารพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยังยืน (องค์การมหาชน) (2559). การท่องเที่ยวเชิงอาหาร, แหล่งที่มา http://www.dasta.or.th/th/, เข้ามาดูเมื่อวันที่ 15/03/2560.
(8) บัณฑิต อเนกพูนสุข (2560). Food on the Move, แหล่งที่มา http://tatreviewmagazine.com, เข้าดูเมื่อวันที่ 10/03/2560.
(9) จุฑารัตน์ สุภาษี. (2544). การผลิตและการบริโภคถั่วเน่าของกลุ่มไทยใหญ่ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน การค้นคว้าแบบอิสระ. วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาโภชศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
(10) นวลรัตน์ วัฒนา. (2555). เอกสารการสอนเรื่องการออกแบบและวิเคราะห์ระบบสารสนเทศสำหรับธุรกิจกรุงเทพ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
(11) Likert, Rensis. (1967). "The Method of Constructing and Attitude Scale". In Reading in Fishbein, M (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York: Willey & Wiley & Son.
(12) ถวัลย์ ใจน้อย. (2550). ความพึงพอใจของผู้รับสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
(13) ชำเลือง วุฒิจันทร์ (2523). ศาสนาและวัฒนธรรมไทยในจังหวัดชายแดนภาคใต้, กรุงเทพ: สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ.
(14) พานีพันธุ์ ฉัตรอำไพพงศ์ และคณะ (2544). การศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้าน: กรณีศึกษาอาหารพื้นบ้านไทยภาคกลาง, จันทบุรี: พี.เพรส
(15) สุธี เทพสุริวงศ์ (2547). อาหารพื้นบ้านไทยมุสลิม, รูสะมิแล, 25(2) หน้า 39-44.
(16) สรรพงศ์ จันทเลิศ. (2546). การสร้างเว็บไซต์: ท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงราย. การค้นคว้าแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
(17) ทวีสินธุ์ ตั้งเซ่ง และคณะ (2559). การพัฒนาระบบสารสนเทศของเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดสตูล, วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 19(2) หน้า 67-80.
(18) นนทิภัค เพียรโรจน์ และคณะ. (2558). การเชื่อมโยงเส้นทางและการส่งเสริมการตลาดโปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของกลุ่ม 4 จังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย, วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 32(2) หน้า 89-115.
(19) Kim, H., & Fesenmaier, D. R. (2008). Persuasive design of destination web sites: An analysis of the first impression. Journal of Travel Research, 47(1), 3-13.