การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบนิเวศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการ จัดการเรียนรู้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค Teams - Games - Tournament (TGT) กับแบบปกติ
Keywords:
การเรียนแบบร่วมมือ Teams - Games - Tournament (TGT), ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจิตวิทยาศาสตร, cooperative learning, Teams - Games - Tournament (TGT), learning achievement, sciencetifics mindAbstract
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและจิตวิทยาศาสตรของนักเรียนระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค Teams - Games - Tournament (TGT) กับกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนอ่างทองปทุมโรจนวิทยาคม อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง จำนวน 80 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคTGT แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.83 และแบบวัดจิตวิทยาศาสตร มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.84 วิเคราะหข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(standard deviation) และการทดสอบที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและจิตวิทยาศาสตรของนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT สูงกว่านักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.01
คำสำคัญ : การเรียนแบบร่วมมือ Teams - Games - Tournament (TGT); ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจิตวิทยาศาสตร
Abstrac
tThis research aimed to compare the learning achievement and scientific mind using thecooperative learning model Teams - Games - Tournament (TGT) and the conventional approach. Thesamples were selected by simple random sampling and consisted of 80 mathayomsuksa 4 studentsduring the second semester of the 2011 academic year., Angthong Pathamarotwithayakhom School,Muang district, Angthong province., Samples were devided ally into 2 group and refered toexperimental group and control group. The research tools were the cooperative learning model TGTand the conventional approach plan. The reliability of the achievement test learning science is 0.628Rajabhat J. Sci. Humanit. Soc. Sci. 13(2) 65-7466and the reliability of the scientific mind is 0.842. The data were analyzed by using mean ( x ),standard deviation (S.D.), and t-test. The results revealed that their learning achievement andscientific mind after teaching using the cooperative learning model TGT was higher than theconventional approach at .01 level of statistical significance.
keywords : cooperative learning; Teams - Games - Tournament (TGT); learning achievement; sciencetifics mind
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
Each article is copyrighted © by its author(s) and is published under license from the author(s).