สภาวะที่เหมาะสมสําหรับการสกัดสารต้านอนุมูลอิสระจากพืชผักพื้นบ้านในจังหวัดกําแพงเพชร

Authors

  • ขวัญดาว แจ่มแจ้ง คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร กำแพงเพชร

Keywords:

สภาวะที่เหมาะสม, สาร้านอนุมูลอิสระ, พืชผักพื้นบ้าน, การสกัด, optimum conditions, antioxidants, local plants, extraction

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเ์พื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสารตานอนุมูลอิสระจากพืชผักพื้นบานในจังหวัดกำแพงเพชรจำนวน 10 ชนิด ได้แก ผักอีซึก ผักพาย มะระขี้นก ผักอีนูน ผักกะทกรก ยอดออย ใบขนุนออน ใบคันทรง ผักปลาบ และไขน้ำ โดยศึกษาชนิดของตัวทำละลาย ไดแก น้ำกลั่น สุรา 40 ดีกรี เมทานอลเอทานอลเขมขน รอยละ 95 และป;โตรเลียมอีเทอร และระยะเวลาในการสกัด ไดแก 8 16 และ 24 ชั่วโมงวิเคราะหฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH assay ผลการศึกษาพบวา สภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสารตานอนุมูลอิสระจากพืชทุกชนิดคือการสกัดที่ระยะเวลา 24 ชั่วโมง การสกัดสารตานอนุมูลอิสระจากผักอีซึกใชสุรา 40ดีกรีเปGนตัวทำละลาย ไดสารสกัดที่มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระมากที่สุด คือ รอยละ 78.81 ผักอีนูน ผักกะทกรก ผักพาย และไขน้ำใชเอทานอลเขมขน รอยละ 95 เปGนตัวทำละลาย ไดสารสกัดที่มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระมากที่สุด คือรอยละ 77.56 รอยละ 69.11 รอยละ 79.76 และ รอยละ 80.15 ตามลำดับ มะระขี้นก ยอดออย ใบขนุนออน ใบคันทรง และผักปลาบใชเมทานอลเปGนตัวทำละลาย ไดสารสกัดที่มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระมากที่สุด คือ รอยละ74.62 รอยละ 73.89 รอยละ 81.81 รอยละ 79.11 และ รอยละ 82.31 ตามลำดับ

คำสำคัญ : สภาวะที่เหมาะสม; สารตานอนุมูลอิสระ; พืชผักพื้นบาน; การสกัด

Abstract

The purposes of this research were to study the optimum conditions for the extraction ofantioxidants from 10 local plants in Kamphaeng Phet Province namely, Albizia lebbeck (L.) Benth.(Pak E-suek), Limnocharis flava Buch (Pakpai), Momordica charantia L. (Marakinok), Adeniaheterophylla (Blume) Koord (Pak E-noon), Passiflora foetida L. (Pak katokrok), Saccharumofficinarum Linn. (Yodaoy), Artocarpus heterophyllus Lam (Baikanoon), Colubrina asiatica L.ex.Brongn (Baikancong), Floscopa scandens Lour. (Pak plab) and Wolffia globosa Hartog & Plas(Kainum). Various solvents such as: water, Thai whisky containing 40 degree ethanol, methanol,ethanol 95 % and petroleum ether were used. The time of extraction consisted of 8, 16, and 24 hours.The method used for determination of antioxidative potential was based on a DPPH assay. Thefindings were as follows: the optimum condition for the plant extraction took 24 hours. The extractionof antioxidant from Albizia lebbeck (L.) Benth, Thai whisky alcohol 40% produced the most effectiveantioxidant at 78.81%. The extraction of antioxidant from A. heterophylla , P. foetida, L. flava andRajabhat J. Sci. Humanit. Soc. Sci. 13(2) 32-4133W. globosa by using ethanol 95% produced the most effective antioxidants at 77.56 %, 69.11 %,79.76 % and 80.15 %, respectively. The extraction of antioxidant from M.charantia, S. officinarum,A.heterophyllus, C. asiatica and F. scandens by using methanol produced the most effectiveantioxidants at 74.62 %, 73.89 %, 81.81 %, 79.11% and 82.31 %, respectively.

keywords : optimum conditions, antioxidants, local plants, extraction

Downloads

How to Cite

แจ่มแจ้ง ข. (2014). สภาวะที่เหมาะสมสําหรับการสกัดสารต้านอนุมูลอิสระจากพืชผักพื้นบ้านในจังหวัดกําแพงเพชร. Life Sciences and Environment Journal, 13(2), 32–41. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/psru/article/view/17004

Issue

Section

บทความวิจัย(วิทย์ฯ)