การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากร ในสายงานผลิตของอุตสาหกรรมผลิตเหล็กกล้าตามมาตรฐานอาชีพ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาวิเคราะห์ความต้องการพัฒนา และพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการพัฒนาสมรรถนะของอาชีพการผลิตเหล็กกล้าตามมาตรฐานอาชีพ การวิจัยครั้งนี้เป็นรูปแบบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เน้นการวิจัยเชิงปฏิบัติการเชิงคุณภาพ (Qualitative Action Research)กลุ่ม ตัวอย่างได้แก่ ผู้ทรงคุณ วุฒิที่ให้ข้อมูลการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จำนวน 12 คน ใช้การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญให้ข้อมูลในการประชุมกลุ่ม (Focus Group Discussion) จำนวน 17 คนโดยการอภิปราย ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญประเมินระดับความจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะ จำนวน 14 คนใช้แบบสอบถาม ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาบุคลากรฯให้ข้อมูล ในการพัฒนาบุคลากรฯ ในการประชมุกลุ่ม (Focus Group Discussion) จำนวน 19 คน ใช้การอภิปรายบุคลากรในสายงานผลิตเหล็กกล้าเข้ารับการอบรม จำนวน 5 คนใช้บทเรียนโมดูลเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าทดสอบที (t-test) โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1) สมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรในอุตสาหกรรมการผลิตเหล็กกล้าจากการศึกษา ประกอบด้วย หนึ่ง (1) ความมุ่งหมายหลัก(Key Purpose) สาม (3) บทบาทหลัก (Key Role)สิบเอ็ด (11) หน้าที่หลัก (Key Function) ยี่สิบสี่ (24)หน่วยสมรรถนะ (Units of Competence) และหนึ่งร้อยยี่สิบเอ็ด (121) หน่วยสมรรถนะย่อย (Elements of Competence) 2) ผลการวิเคราะห์หาความต้องการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสายงานผลิตของอุตสาหกรรมผลิตเหล็กกล้า พบว่าสมรรถนะระดบัความจำเป็นมากที่สุด ในสายงานหลอมเหลก็ มีจำนวนสิบห้า (15) สมรรถนะย่อย (Elements of Competence)บุคลากรหล่อเหล็ก แปด (8) สมรรถนะย่อย (Elements of Competence) และบุคลากรรีดเหล็ก แปด (8) สมรรถนะย่อย (Elements of Competence) 3) ผลการนำรูปแบบในการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสายงานผลิตของอุตสาหกรรมผลิตเหล็กกล้า โดยนำ�สมรรถนะย่อยควบคุมส่วนผสมทางเคมีในน้ำเหล็กไปพัฒนาและทดลองปฏิบัติ พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางความรู้พนกังานระดับสมรรถนะ 1 ความรู้เพิ่มขึ้นที่ระดับ 88.35 จากเดิม 75.00 และระดับสมรรถนะ 2 มีความรู้เพิ่มขึ้นที่ระดับ 87.50 จากเดิม 82.50 ผลสัมฤทธิ์ของทักษะความสามารถพบว่าพนักงานระดับสมรรถนะ 1 มีทักษะเพิ่มขึ้นที่ระดับ 73.00 จากเดิม 40.30 และระดับสมรรถนะ 2 มีทักษะเพิ่มขึ้นที่ระดับ 78.50 จากเดิม50.50 การประเมินผลิตภาพ (Productivity) พบว่าปริมาณร้อยละของธาตุอยู่ในพิสัย (Range) ตามเกณฑ์ที่กำหนดเพิ่มขึ้นทั้ง 5 ธาตุ ได้แก่ ปริมาณร้อยละของธาตคุาร์บอน (C) กอ่นและหลังการอบรมที่ระดับ 78.79/96.97 ปริมาณร้อยละของธาตุแมงกานีส (Mn) ก่อนและหลังการอบรมที่ระดับ 96.97/100.00 ปริมาณร้อยละของธาตุซิลิกอน (Si) ก่อนและหลังการอบรมที่ระดับ 72.73/100 ปริมาณร้อยละของธาตุฟอสฟอรัส (P) ก่อนและหลังการอบรมที่ระดับ 100/100 และปริมาณร้อยละของธาตุซัลเฟอร์ (S) ก่อนและหลังการอบรมอยู่ที่ระดับ90.91/96.97
คำสำคัญ: การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากร มาตรฐานอาชีพ
Abstract
The main objectives of this study were: 1) to define the competency for operational staff on the steel production line; 2) to analyze the need for improving competency; and 3) to develop a competency model for technical staff. The study constructed a research and development model,emphasizing qualitative action research engaging in in-depth interviews of 12 experts and a focus group discussion of 17 experts and specialists.Competency needs assessment questionnaires were assessed by 14 experts and specialists, and by focus group discussion of 19 experts. The developed module was tested by conducting training with 5 melters. The statistical method, viz. frequency,percentage, mean, standard deviation, and t-test,were used to analyze the collected data. The study found that: 1) The results can be summarized and shown on a functional map that comprises one key purpose, three key roles, eleven key functions,twenty-four units of competence, and one hundred and twenty-one elements of competence. 2) The study identified the fifteen most import elements of competence in the melting operation, eight for the casting process, and eight for the rolling operation.3) Evaluation of the results of achievements after training showed that the knowledge of the workers that were trained at competency level 1 had improved from 75.00% to 88.35%. The knowledge of the workers at level 2 increased from 82.50% to 87.50%. The achievement of skills by behavioral observation suggested that the workers at level 1 had increased their skills from 40.30% to 73.00%.The workers at level 2 increased their skills from 50.50% to 78.50. Evaluation of the productivity and controlling of the melt chemistry in the electric arcfurnace for 5 major elements found that carbon accuracy increased from 78.79% to 96.97%,manganese from 96.97% to 100%, silicon from 72.73% to 100%, phosphorous remained at 100%,and finally sulfur from 90.91% to 96.97%. It can be confidently concluded that the competency development procedure outlined above is suitable and can be applied successfully. The study also showed that the trainees were satisfied with the module. The research procedure used in this work,to develop the competency of the operational staff in the steel-making industry with reference to the occupational standard has proven to be useful and functional. The procedure consists of studying the existing competency of the workers, then analyzing the needs for competency development and formulating the development steps. The format developed by this work can be applied to other industries to enhance their competitiveness and to further develop their human resources.
Keywords: Competency Development for Operatioal Staff in the Steel making Industry,Occupational Standard
Article Details
บทความที่ลงตีพิมพ์เป็นข้อคิดเห็นของผู้เขียนเท่านั้น
ผู้เขียนจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากบทความนั้น