A Personal Writing Approach: Controversial Debates

Main Article Content

Adcharawan Buripakadi

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอข้อถกเถียงซึ่งนักวิชาการ ท่านสำคัญๆ ในวงการการศึกษาการเขียนอาทิ บาร์โทโลเมย์ [1] แพทตริเซีย [2] และนอบเบราช์ [3] ได้กล่าวไว้เกี่ยวกับมุมมองด้านลบของวิธีการการเขียน เชิงบุคคลหรือเชิงพรรณนา การเขียนดังกล่าวนี้ให้ความ สำคัญกับการแสดงออกของความรู้สึกได้รับการขนาน นามและวิพากษ์วิจารณ์ดังนี้คือ 1) ทำให้นักศึกษา “ไร้ประสิทธิภาพ” “ไร้พลัง” และ “มืดบอด” 2) ปิดโอกาส ผู้ตลอดจนทำให้นักศึกษามีข้อจำกัดในการเขียนเชิง วิชาการ 3) มุ่งเน้นเฉพาะการการเติบโตของปัจเจกชน แต่กลับละเลยบริบททางสังคมของทักษะและองค์ ความรู้ และ 4) นำไปสู่การสอนที่ผิดๆ ภายใต้กรอบวิธี วิทยาที่เกี่ยวข้อง บทความนี้เสนอว่าวิธีการการเขียน เชิงพรรณนาไม่ควรถูกมองว่าเป็นภัยคุกคามหรือปัญหา สำหรับนักศึกษา แต่ควรได้รับการพิจารณาเป็นหนึ่ง ในทางเลือกในวิชาการเขียน นั่นคือครูสามารถใช้ ประโยชน์จากวิธีการการเขียนเชิงบุคคลเพราะวิธีการ เขียนนี้ช่วยให้เรียนรู้ที่จะปรับใช้วาทกรรมที่พวกเขา คุ้นเคยเพื่อแสดงความคิดเห็นและนำเสนอสิ่งที่พวกเขา สนใจ ท้ายที่สุดบทความนี้เสนอว่าครูที่สอนวิชาการ เขียนควรผสมผสานรูปแบบการเขียนเชิงบุคคลกับ รูปแบบการเขียนวิชาการ

คำสำคัญ : การเขียนเชิงบุคคล การเขียนเชิงพรรณนา การศึกษาการเขียน

Abstract

This paper addresses the controversial debates raised by key scholars in composition studies namely Bartholomae [1], Bizzell [2] and Knoblauch [3] regarding negative aspects of personal writing or expressive writing approach. This writing pedagogy giving importance to emotional expression has been labeled and criticized that it 1) makes students “suckers,” “powerless,” and “blind,” 2) limits and disadvantages students academically; 3) focuses upon personal growth while ignoring the social settings of specified skills and bodies of knowledge; and 4) can lead to misguided teaching. Grounded in the relevant theoretical arguments, the paper asserts that the personal approach should not be regarded as a threat or a problem to students in the academic settings. In stead, it should be considered and employed as an alternative in composition courses. Simply put, teachers can benefit from expressive writing approach as it helps empower students to better adapt and use familiar discourse to voice their ideas and represent the interests of themselves. This paper finally suggests composition teachers harmonize personal discourse with academic discipline.

Keywords : Personal Writing, Expressive Writing, Composition Studies

Article Details

บท
Academic Article