การสำรวจอาการสายตาสั้นตอนกลางคืนในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การประเมินความสามารถในการมองเหน็ เป็นสิ่งสำคัญ โดยการออกแบบ การวัดผล และพัฒนาทางด้านความปลอดภัยและประสิทธิภาพของระบบมนุษย์ ต้องมั่นใจว่าวิธีดังกล่าวสอดคล้องกับความสามารถและความต้องการของมนุษย์ ภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืนคือภาวะสายตาสั้นเพิ่มขึ้นชั่วคราวเมื่อเข้าสู่สภาวะแสงที่มืดสนิท การศึกษาในเรื่องของภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืนนั้นยังไม่เป็นที่ชัดเจนเนื่องจากสามารถเกิดได้ทั้งบุคคลที่มีสายตาปกติในตอนกลางวัน ในอดีตที่ผ่านมา ผลกระทบจากสภาวะสายตาสั้นเพิ่มขึ้นชั่วคราวมีผลต่อการขับขี่ยานพาหนะในตอนกลางคืนและการเกิดอุบัติเหตุในตอนกลางคืนจุดประสงค์ของการศึกษาเพื่อสืบค้นจากสถานการณ์ปัจจุบันของภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืนในคนไทยที่มีกลุ่มอายุ 3 กลุ่มอายุได้แก่ ช่วงอายุ 20–29 ปี 30–39 ปี และ 40 ปีขึ้นไป และการพัฒนาแบบสอบถามขึ้นมาใช้เพื่อการสำรวจ การสำรวจพบว่า มีเพียง 6 คน คิดเป็น 5.71% จากการสำรวจกลุ่มประชากรตัวอย่างที่มีความเสี่ยงสูงในภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืนจะปรากฏเมื่อมีอุปสรรคในการขับรถตอนกลางคืน
Article Details
บทความที่ลงตีพิมพ์เป็นข้อคิดเห็นของผู้เขียนเท่านั้น
ผู้เขียนจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากบทความนั้น
References
[2] H. Ryosa, “Night myopia may place many young drivers at risk, MD says,” Canadian Medical Association Journal, vol. 147, no. 12, pp. 1834–1835, 1992.
[3] W. Charman, “Night myopia and driving,” Ophthalmic and Physiological Optics, vol. 16, no. 6, pp. 474–485, 1996.
[4] A. Rogers, “Night myopia,” Journal of Ophthalmic Medical Technology, vol. 5, no. 2, 2009.
[5] V. Gothwal, T. Wright, E. Lamoureux, and K. Pesudovs, “Rasch analysis of the quality of life and vision function questionnaire,” Optometry and Vision Science, vol. 86, no. 7, pp. E836-E844, 2009.
[6] P. Stubenbordt. (2015, Apr.). Patient Intake – Vision Questionnaire. Englewood. US [Online]. Available: https://www.cutarellivision.com