แนวทางวิจัยการวิเคราะห์สารแต่งกลิ่นเพื่อสร้างนวัตกรรมทางอุตสาหกรรมอาหาร

Main Article Content

Sompoch Noichinda
Kitti Bodhipadma

บทคัดย่อ

ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่การเป็นประเทศเกษตร
อุตสาหกรรมอย่างเต็มตัว กล่าวคือจากอาชีพหลักของ
ประชากรแต่เดิมที่ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ ได้ถูกปรับเปลี่ยนโดย
การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้ผลผลิตที่ได้สามารถ
แข่งขันในตลาดโลกได้ แต่เนื่องจากผู้ผลิตอาหารในหลาย
ประเทศทั่วโลกนั้นได้มีการนำเอาเทคโนโลยีขั้นสูงมาใช้ควบคู่
กับนวัตกรรมที่คิดค้นขึ้นมาใหม่ๆ จะเห็นได้จากผลิตภัณฑ์
ที่เพิ่งออกสู่ตลาดเมื่อเร็วๆ นี้ เช่น กาแฟผงสำเร็จที่ผลิตขึ้น
จากกระบวนการพ่นฝอยอบแห้ง (Spray Drying) ที่มีการ
ผสมสารกักเก็บกลิ่นกาแฟ (Encapsulated Coffee Flavor)
ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายความสามารถของคนไทยเป็นอย่างยิ่ง เป็น
ที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยมีวัตถุดิบที่มีคุณภาพดีอยู่มากมาย
รวมทั้งมีต้นทุนในการผลิตต่ำ ดังนั้นหากมีเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมที่เด่นกว่าประเทศอื่น ก็สามารถสร้างผลิตภัณฑ์
ที่มีมาตรฐานและคุณภาพเป็นที่ยอมรับกันในตลาดโลกได้
อย่างไม่ยากเย็นนัก

Article Details

บท
บรรณาธิการปริทัศน์

References

[1] Guidelines for the use of food additives and related laws (Revised edition 2013) (2018, June 28). [Online]. Available: http://food.fda.moph.go.th/data/news/2556/560902/Update%20Food%20Additives.pdf (in Thai)

[2] Utilization of aroma substances in food (2018, June 28). [Online]. Available: http://service.ifrpd.ku.ac.th/koha_ku/opac-detail.php?bib=3985 (in Thai)

[3] J. C. Johnston, R. C. Welch, and G. L. K. Hunter. “Volatile constituents of litchi (Litchi chinesis Sonn.),” Journal of Agricultural and Food Chemistry, vol. 28, no.4, pp. 859–861, 1980.

[4] P. K. C. Ong and T. E. Acree, “Gas Chromatography/Olfactory analysis of lychee (Litchi chinesis Sonn.),” Journal of Agricultural and Food Chemistry, vol. 46, no. 6, pp. 2282–2286, 1998.

[5] Y. Wu, Q. Pan, W. Qu, and C. Duan. “Comparison of volatile profiles of nine litchi (Litchi chinesis Sonn.) Cultivars form Southern China,” Journal of Agricultural and Food Chemistry, vol. 57, no. 20, pp. 9676–9681, 2009.