การพัฒนาคุณภาพเสียงของ VoIP CODEC โดยการเรียงต่อกันของโคเดก
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
ในปัจจุบันมีผู้คิดค้นและพัฒนาโคเดก (CODEC) ขึ้นมามากมายโดยใช้ขั้นตอนวิธีการการบีบอัด (CompressionAlgorithm) ที่ต่างกันออกไป ทำให้โคเดกแต่ละตัวให้คุณภาพเสียงที่ไม่เท่ากันส่งผลให้โอกาสการเกิดการเรียงต่อกันของโคเดก (CODEC Tandem) ระหว่างโคเดกที่มีคุณภาพเสียงที่ต่ำมาก และโคเดกที่มีคุณภาพเสียงที่สูงมากมีมากขึ้นดังนั้นงานวิจัยฉบับนี้จึงสนใจศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการปรับปรุงคุณภาพเสียงของ VoIP CODEC-G.723.1A โดยใช้เทคนิคการเรียงต่อกันกีบโคเดกตัวอื่นที่เป็นที่นิยมใช้งานในช่วงแถบความถี่แคบ(Narrow-band CODEC) รวมทั้ง OPUS ซึ่งเป็นโคเดกที่มีความสามารถหลากหลายและยังอยู่ในการพัฒนาของ Internet Engineering Task Force (IETF) จากการทดลองพบว่า 1) เพื่อให้ได้คุณภาพเสียงที่ดีที่สุดสำหรับ OPUS ค่า Frame Size ควรใช้ที่มีขนาดมากกว่าหรือเท่ากับ 20 มิลลิวินาทีขึ้นไป 2) คุณภาพของเสียงที่ผ่านการเข้ารหัสด้วย G723.1A เพียงครั้งเดียว มีค่า MOS เพิ่มขึ้นเมื่อมีการเข้ารหัสด้วยโคเดกชนิดอื่นบางชนิดรวมถึง OPUS ก่อน ซึ่งในบรรดาโคเดกทั้งหมด OPUS สามารถเพิ่มคุณภาพของเสียงได้มากที่สุด
คำสำคัญ: การเรียงต่อกันของโคเดก G723.1A, OPUS,PESQ
Abstract
Variety of compression algorithms of eachVoIP CODEC makes the quality of the output filesdifferent. As voices may need to be encoded multipletimes while being sent through multiple networks thatuse different CODEC (so called CODEC tandem), thereis a possibility that the CODECs which provide lowvoice quality may be used together with others thatprovide much better voice quality. The main purposesof this research are to analyze and seek improvementin the quality of voices encoded using VoIP CODEC G.723.1A by tandeming with other famous NarrowbandVoIP CODECs. As a comparison result, thequality of voices is improved if voices were encodedby tandem of codecs, compared to those encoded byG.723.1A alone. Furthermore, OPUS CODEC which isdeveloped by Internet Engineering Task Force (IETF)can deliver the most significant improvement amongall selected CODECs, especially with the frame sizeof 20 ms. or above.
Keywords: Codec Tandem, G723.1A, OPUS, PESQ
Article Details
บทความที่ลงตีพิมพ์เป็นข้อคิดเห็นของผู้เขียนเท่านั้น
ผู้เขียนจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากบทความนั้น