การแยกซิลเวอร์จากแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ด้วยการแทนที่ด้วยโลหะ

Main Article Content

Panida Sampranpiboon

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ทำการแยกซิลเวอร์ออกจากแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ที่เสื่อมสภาพการใช้งานแล้วโดยการแทนที่ด้วยโลหะซึ่งได้ทำการแยกแผงวงจรพลาสติกภายในแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์แล้วใส่ลงในสารละลายกรดไนตริกที่มีความเข้มข้นระยะเวลาและอุณหภูมิในการทำปฏิกิริยาต่างๆ ผลการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมคือใช้อัตราส่วนแผงวงจรจากแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ต่อสารละลายกรดไนตริกเข้มข้น 3 M ที่ 1:15 อุณหภูมิ 50°C เวลาในการทำปฏิกิริยา 8 ชั่วโมงจะได้ปริมาณตะกอนซิลเวอร์ที่แยกได้จากแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์คือ ร้อยละ 2.618 และทำการวิเคราะห์คุณภาพของโลหะซิลเวอร์ด้วยเครื่องเอกซเรย์ดิฟแฟรกโตมิเตอร์ (XRD) พบว่าซิลเวอร์ที่ได้มีความบริสุทธิ์ 100% โดยค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการแยกซิลเวอร์จากแผงวงจรจากแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ประมาณ 76.39 บาทต่อกรัมซิลเวอร์

Article Details

บท
บทความวิจัย ด้านวิศวกรรมศาสตร์

References

[1] S. Lopthongkam, (2016, April). Environmental problem of electronic waste from social technology. [Online].Available: http://contentcenter. prd.go.th

[2] Greenpeace Thailand, problem of e-waste. (2013, September) [Online]. Available: http://www.research.cmru.ac.th

[3] J. Cui and L. Zhang., “Metallurgical recovery of metals from electronic waste: A review,” Journal of Hazardous Materials, vol. 158, pp. 228–256, 2008.

[4] M. Gunna and S. Somsanam (2014, March). The preparation of silver sulphate from electronic and laboratory waste [Online]. Available: http://www.research.cmru.ac.th

[5] W. Suanthaisong, “Silver extraction from laboratory waste,” Department of Science Service Journal, vol. 179, pp. 37–39, 2009 (in Thai).

[6] R. Chang, “Electrochemistry,” in Chemistry, 9th ed, McGraw-Hill, 2008, pp. 819–842.

[7] NEPO, Electricity rates of PEA. (2000, December). [online]. Available: http://www2.eppo.go.th/power/pw-Rate-PEA.html