การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศกับการออกแบบและวางแผนระบบการให้น้ำในสวนทุเรียนที่เหมาะสม
คำสำคัญ:
การออกแบบและการจัดการระบบน้ำ, สวนทุเรียน, ระบบภูมิสารสนเทศบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มุ่งเน้นการศึกษาและวางแผนการจัดการน้ำในแปลงปลูกทุเรียนเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพของการให้น้ำ โดยใช้ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จากภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อวิเคราะห์พื้นที่และวางแผนระบบน้ำให้เหมาะสม ผลลัพธ์ของการศึกษาชี้ให้เห็นว่าการวางแผนระบบน้ำสำหรับแปลงปลูกทุเรียนขนาดใหญ่สามารถทำได้ด้วยการใช้โปรแกรม QGIS ในการวางแผนการให้น้ำ การคำนวณการสูญเสียแรงดันของระบบสูบน้ำและการเลือกใช้ท่อน้ำที่เหมาะสม เช่น ท่อน้ำหลักขนาด 3 นิ้ว และท่อน้ำรองขนาด 2 นิ้ว เพื่อรักษาความเร็วของน้ำในท่อ และการใช้เครื่องสูบน้ำขนาด 3 แรงม้า มีต้นทุนทั้งระบบราคาประมาณ 47,550 บาท โดยรวมถึงค่าเครื่องสูบน้ำ, ค่าท่อ PVC และค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด อย่างไรก็ตาม การวางแผนระบบน้ำช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับการรั่วของท่อและการที่น้ำไหลต่ำเนื่องจากความดันของน้ำที่ไม่เพียงพอในระบบทั้งหมด การวิจัยนี้มีความสำคัญสำหรับภาคเกษตรกรรม เนื่องจากมีการจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพและเป็นแบบจำลองที่ดีตามระยะเวลาการเจริญเติบโตของทุเรียน และเป็นแบบอย่างในการใช้เทคโนโลยีภูมิศาสตร์ในการบริหารจัดการระบบน้ำในสวนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
References
กฤษฎา ชื่นจิตต์. (2559). การศึกษาแนวทางของเทคโนโลยีฟาร์มอัจฉริยะ(Smart Framing Technology) กรณีศึกษาไร่ไวร์กรานมอนเต้ (Gran Monta) เพื่อรองรับการขับเคลื่อนแผนพัฒนาดิจิตัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมสู่ประเทศไทย 4.0. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ชฎา ณรงค์ฤทธิ. (2547). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม. พิษณุโลก: ภาควิชา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ชาลี จันทร์แสง, สมบูรณ์ งามเสงี่ยม และวสันต์ รื่นรมย์. (2565). ระบบฟาร์มรักษ์น้ำ: เทคโนโลยีการให้น้ำอัจฉริยะสำหรับควบคุมการให้น้ำในแปลงเกษตร. สืบค้นจาก https://www.nstda.or.th/agritec/raknam-eec/.
ณัฐนันท์ พีรเมธาวงศ์ และกนกพร ประสงค์. (2566). เกษตรย่านตาขาว ลงพื้นที่แนะนำการวางระบบน้ำแปลงปลูกทุเรียน ตำบลเกาะเปียะ. สืบค้นจาก https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG230403203321748.
ดุลยโชติ ชลศึกษ์. (2557). การออกแบบระบบท่อทางวิศวกรรม [เอกสารประกอบการเรียนการสอน]. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธารารัตน์ พวงสุวรรณ. (2557). การพัฒนาระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรจังหวัดจันทบุรี รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นาวี จิระชีวี, วิโรจน์ โหราศาสตร์ และวันชัย คุปวานิชพงษ์. (2548). การศึกษาระบบชลประทานนํ้าหยดร่วมกับการพัฒนาอุปกรณ์จ่ายปุ๋ยแบบประหยัดและพลาสติกคลุมดิน. สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม กรมวิชาการเกษตร.
ภูวดล โดยดี และสุภาพร แหวะสอน. (2558). การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสร้างแผนที่เขตการปลูกพืชเศรษฐกิจบางชนิดบริเวณหนองหารหลวง จังหวัดสกลนคร. การประชุมทางวิชาการ มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร์ครงั้ที่ 53, วันที่ 3-6 กุมภาพันธ์ 2558.
ภูเบศวร์ เมืองมูล และสมชาย องค์ประเสริฐ. (2551). การศึกษาการมีส่วนร่วมในการจัดการน้ำเพื่อการเกษตรและแนวทางการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำของเกษตรกร กรณีศึกษาอ่างเก็บน้ำบ้านแม่สาใหม่ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
วรินทร์ สุทนต์, พาวิน มะโนชัย, ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร, วินัย วิริยะอลงกรณ์ และเสกสันต์ อุสสหตานนท์. (2546). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการติดผลและการควบคุมการร่วงของผลลิ้นจี่ รายงานฉบับสมบูรณ์. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
วันทนา บัวทรัพย์. (2551). “ทุเรียน” คู่มือนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
สุมิตร คุณเจตน์, ไพฑูรย์ ศรีนิล และสมบัติ ฝอยทอง. (2563). การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง. การประชุมวิชาการเกษตรพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ครั้งที่ 7, 14 กุมภาพันธ์ 2563. (น. 131-137).
สุเพชร จิรขจรกุล. (2555). เรียนรู้ระบบสารสนเทศด้วยโปรแกรม ArcGis Desktop 9.3.1 ฉบับปรับปรุง (พิมพ์ครั้งที่ 1). นนทบุรี : บริษัทเอพีกราฟิคดีไซน์และการพิมพ์ จำกัด.
Don, G.A. (1831). General History of Dichlamydeous Plants, London: J. G. & F. Rivington, 513-514.
Kariznovi, A., Jafari H., & Alizadeh K. (2021). The Role of Water Resources Management in Reducing the Production Costs of Agricultural Products. Propósitos y Representaciones, 9(2), 953.
Kumari M., & Sah A.K. (2021). IoT Enabled Smart Irrigation System, Monitoring and Water Harvesting in Different Soils. International Journal of Engineering Research & Technol-ogy, 10(3).
Larock, B.E., Jeppson, R.W., & Watters G.Z. (1990). Hydraulic of Pipe Systems. USA: CRC Press LLC, 537p, 2000.
Lim, T.K. (1990). Durian: Diseases and Disorders. Malaysia, 95.
Macmillan H.F. (1949). Tropical planting and gardening. (5th ed.). London: MacMillian & Co Ltd.
Mendoza, D.R. (1941). Distribution of durians in the Philippines. Philippine Journal of Forestry, 4(1), 27-35.
Orwa, C., Mutua, A., Kindt, R., Jamnadass, R., & Anthony, S. (2009). Agroforestree Database: a tree reference and selection guide version 4.0. Retrieved form http://www.worldagroforestry.org/sites/treedbs/treedatabases.asp.
Wang, D., Zheng, M., Zhang, L., Mao, Z., Tan, J., Zhan Y. et al. (2023). Effects of Laying Depth and Pipe Arc Length on the Mechanical Performance of Large-Diameter Cold-Water Pipes during Float-and-Sink Installation. Journal of Marine Science and Engineering, 11(8), 1-17.
