แนวทางการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาสู่องค์กรสมรรถนะสูง

ผู้แต่ง

  • พัชรินทร์ อักษรผอม วิทยาลัยการอาชีพกันตัง
  • สุนทรี วรรณไพเราะ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

คำสำคัญ:

แนวทางการบริหาร, องค์กรสมรรถนะสูง

บทคัดย่อ

ในการบริหารสถานศึกษาให้เป็นองค์กรสมรรถนะสูง แนวทางการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาสู่องค์กรสมรรถนะสูง ถือเป็นสิ่งสำคัญและเป็นกุญแจสำคัญในการขับเคลื่อนสถานศึกษา ให้ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุดได้โดยการนำแนวทางการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาสู่องค์กรสมรรถนะสูง ที่ประกอบองค์ประกอบ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการเชิงรุก 2) การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย 3) การพัฒนาครูและผู้เชี่ยวชาญในอาชีพเฉพาะทาง 4) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่เข้มแข็ง และ 5) ปัจจัยสนับสนุนพิเศษที่เอื้อต่อการผลิตกำลังคนอาชีวศึกษาคุณภาพสูง ดังนั้นการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรสมรรถนะสูง จึงมีความจำเป็นในการที่จะทำให้องค์กรมุ่งสู่องค์กรสมรรถนะสูง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดขององค์กร และความก้าวหน้าขององค์กรต่อไป

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2566). [ออนไลน์]. นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566. [สืบค้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2566]. จาก https://www.moe.go.th/360policy-and-focus-moe-2023/.

de Waal, A., & Sultan, S. (2012). Applicability of the High Performance Organization Framework in the Middle East: The Case of Palestine Polytechnic University. International Conference in Business, 9-10 May 2012. Sharjah, United Arab Emirates.

McShane, S. L., Glinow, M. V., & Mary, A. (2003). Organizational Behavior: Emerging Realities for the Workplace Revolution (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). โครงการศึกษาเพื่อทบทวนความต้องการกำลังคนเพื่อใช้วางแผนการผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานพัฒนาระบบราชการ. (2566). [ออนไลน์]. รายงานประจำปีของสำนักงานสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. [สืบค้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2566]. จาก https://www.opdc.go.th/content/viewbook/ODI3OXx8MXx8dGh8fFdQZU84#book/.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2560). รายงานประจำปี 2560. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

ธนุ วงษ์จินดา. (2565). ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาสมรรถนะสูง เพื่อการพัฒนาประเทศ. วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 1, 7(2), 3-11.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). [ออนไลน์]. (ร่าง) กรอบทิศทางแผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2560-2575. [สืบค้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2566]. จาก https://backoffice.onec.go.th/uploaded/Outstand/2016-EdPlan60-74.pdf.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566-2570. กรุงเทพมหานคร: สำนักนายกรัฐมนตรี

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2565). แนวทางขับเคลื่อนการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาสมรรถนะสูง เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). มาตรฐานการอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง พ.ศ. 2559. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

ธนาคาร คุ้มภัย ประทิน เลี่ยนจำรูญ และสมพร ปานดำ. (2564). การพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาด้านอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี, 1(1), 52-62.

วันทิตา โพธิสาร สมคิด สร้อยน้ำ และเรวณี ชัยเชาวรัตน์. (2563). การบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศ: การศึกษาทฤษฎีฐานราก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 14(1), 127-138.

Miller, L. M. (2009). [online]. The High-Performance Organization an Assessment of Virtues and Values Prepared for the European. [Retrieved 2 June 2013]. from https://bahai-library.com/pdf/m/miller_high_performance_organization.pdf.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-12-2023