การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกิจกรรม กรณีศึกษาการออกข้อสอบคัดเลือกบุคคลพลเรือน ทหารกองหนุน เข้ารับราชการ เป็นนายทหารสัญญาบัตร รอบเชิงลึก

Main Article Content

การุณย์ ชัยวณิชย์
พุทธดี อุบลศุข

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกิจกรรมการออกข้อสอบคัดเลือกบุคคลพลเรือน ทหารกองหนุน เข้ารับราชการ เป็นนายทหารสัญญาบัตร รอบเชิงลึก ประจำปีงบประมาณ 2565 จากการศึกษา พบว่า ในการจัดกิจกรรมมีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เท่ากับ 1.216 tCO2e โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทที่ 1 กิจกรรมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรงที่เกิดจากบริการ เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ ประเภทที่ 2  กิจกรรมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม ที่เกิดจากการใช้พลังงานไฟฟ้า และประเภทที่ 3 กิจกรรมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่น ๆ มีปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์จากกิจกรรมเท่ากับ 0.3591 0.0145 และ 0.8423 tCO2e ตามลำดับ ผลการประเมินระดับคุณภาพโดยส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 2 คือ มีความไม่แน่นอนเล็กน้อย คุณภาพของข้อมูลปานกลาง มีเพียงกิจกรรมการใช้พลังงานการใช้เชื้อเพลิงแบบเคลื่อนที่และขยะพลาสติก เท่านั้น ที่มีผลประเมินอยู่ในระดับ 1 ซึ่งในการจัดงานกิจกรรมการออกข้อสอบคัดเลือกบุคคลพลเรือนฯ ครั้งนี้ สามารถลดปัญหาสภาวะโลกร้อนจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ด้วยการทำกิจกรรมชดเชยคาร์บอน โดยการจัดหาคาร์บอนเครดิตจากโครงการลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทยมาชดเชยกับก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากกิจกรรมดังกล่าว เพื่อทำให้ก๊าซเรือนกระจกสุทธิลดลง เรียกว่า Carbon Offset หรือทำให้ก๊าซเรือนกระจกสุทธิลดลงเท่ากับศูนย์เรียกว่า Carbon Neutral อันจะทำให้ประเทศไทยสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากขึ้นเช่นกัน

Article Details

How to Cite
[1]
ชัยวณิชย์ ก. และ อุบลศุข พ., “การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกิจกรรม กรณีศึกษาการออกข้อสอบคัดเลือกบุคคลพลเรือน ทหารกองหนุน เข้ารับราชการ เป็นนายทหารสัญญาบัตร รอบเชิงลึก ”, Crma. J., ปี 20, ฉบับที่ 1, น. 75–85, ธ.ค. 2022.
บท
บทความวิจัย

References

A Costello, M Abbas, A Allen, et al. “Managing the health effects of climate change: Lancet and University College London Institute for Global Health Commission,” The Lancet, vol. 373, pp. 1693-1733, 2009.

ประสิทธิ์ ไกรลมสม, วรวิทย์ ลีลาวรรณ และ ธนากร เมียงอารมณ์. “แนวทางในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก กรณีศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี,” วารสารวิจัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, ปีที่ 2, ฉบับที่ 15, หน้า 19-24, กรกฎาคม-ธันวาคม, 2562.

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์กรมหาชน), “คู่มือการทําากิจกรรมชดเชยคาร์บอนสําาหรับการจัดงานอีเว้นท์.” 2562, http://www.tgo.or.th/2020/index.php/th/post/TGO200100019.

X. Wei, R. Qiu, Y. Liang, Q. Liao, J. J. Klemeš, J. Xue, and H. Zhang, “Roadmap to carbon emissions neutral industrial parks: Energy, economic and environmental analysis,” Energy, vol. 238, 2022, doi:10.1016/j.energy. 2021.121732.

R. P. Shea, M. O. Worsham, A. D. Chiasson, J. K. Kissock, and B. J. McCall, “A lifecycle cost analysis of transi-tioning to a fully-electrified, renewably powered, and carbon-neutral campus at the University of Dayton,” Sustainable Energy Technologies and Assessments, vol. 37,2020.

จิตลดา หมายมั่น, อติกร เสรีพัฒนานนท์, บัณฑิต รัตนไตร และสมบัติ ทีฆทรัพย์, “คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร,” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, ฉบับที่ 1, ปีที่ 11, 2560.

ฐิติกร หมายมั่น, บัณฑิต รัตนไตร, ชําานาญ ทองมาก, และ สุรพันธ์ ใจมา, “การลดปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรของมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย,” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, ฉบับที่ 2,ปีที่ 14 , 2563.

ไผทมาศ เปรื่องปรีชาศักดิ์, ฤทธิรงค์ จังโกฏิ, พฤกษ์ ตัญตรัยรัตน์ และ เทพภมร คําาสอง, “การจัดทําาคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรของคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,” วารสารวิจัยสาธารณสุข-ศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ฉบับที่ 3, ปีที่ 13, 2563.

ภัทราภรณ์ ศรีอภัย และ วิสาขา ภู่จินดา, “การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร และแนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ สําานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร,” วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, ฉบับที่ 36, ปีที่ 15, 2021.

การุณย์ ชัยวณิชย์, “คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรกรณีศึกษากองวิชาวิศวกรรมสรรพาวุธ ส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า,” วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, ปีที่ 12, ฉบับที่ 15, มกราคม-มิถุนายน, 2563.

พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์, “คาร์บอนฟุตพริ้นท์จากการบริโภคในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลและชายหาด ในพื้นที่ อําาเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี,” Veridian E-Journal, Silpakorn University, ฉบับที่ 1, ปีที่ 10, 2560.

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์กรมหาชน), “แนวทางการทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์งานอีเว้นท์,” พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ. องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก, 2562.

เนตรชนากานต์ สุนันตา และ เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล, “การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากขยะเทศบาลด้วยระบบวัฏจักรแรงคินสารอินทรีย์,” วารสารเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, ปีที่ 1, ฉบับที่ 1, หน้า 1-14, กรกฎาคม-ธันวาคม, 2560.

IPCC, 1997. Revised 1996 IPCC Guidelines for National Greenhouse Inventories, Volume 2 table 2.2 DEDE; AR5. Workbook. Houghton, J.T., Meira Filho, L.G., Lim, B., Treanton, K., Mamaty, I., Bonduki, Y., Griggs, D.J. and Callander, B.A. (Eds). Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC), IPCC/OECD/IEA, Paris, France.

The emission factors and sources are derived for Europe, Food and Drink in INDUSTRIAL PROCESSES, 1996, [Online]https://www.ipcc-nggip.iges.or.jp/public/gl/guidelin/ch2ref3.pdf.

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์กรมหาชน), “Emission Factor,” 2560, http://thaicarbonlabel.tgo.or.th/admin/ uploadfiles/emission/ts_f2e7bb377d.pdf.

IPCC, 1997. Revised 1996 IPCC Guidelines for National Greenhouse Inventories, Volume 2 table 3.2.1.; 3.2.2 DEDE; AR5. Workbook. Houghton, J.T., Meira Filho, L.G., Lim, B., Treanton, K., Mamaty, I., Bonduki, Y., Griggs, D.J. and Callander, B.A. (Eds). Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC), IPCC/OECD/IEA, Paris, France.

Measure Manage, and Mitigate Climate Impact. Carbon zero Certified. [Internet]. [cited 2022 April 18]. Available from: https://www.carbonzero.ca.

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์กรมหาชน), “แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์,” พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ, องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก, 2561.

ฐิติกร หมายมั่น, สมบัติ ทีฆทรัพย์, อติกร เสรีพัฒนานนท์ และบัณฑิต รัตนไตร, “การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรของมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย,” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์น เอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ปีที่ 12, ฉบับที่ 2, หน้า 109-205, 2561.

M. Salo, H. Savolainen, S. Karhinen and A. Nissinen, “Drivers of household consumption expenditure and carbon footprints in Finland,” Journal of Cleaner Production, Vol. 289, 2021.