Archaeometallurgical Study at Ban Khao Din Tai Archaeological Site, Buriram Province
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยทางด้านโลหกรรมโบราณของเหล็กในประเทศไทยครั้งนี้เป็นการศึกษาเทคโนโลยีด้านโลหกรรมในสมัยโบราณ ในแหล่งโบราณคดีบ้านเขาดินใต้ จังหวัดบุรีรัมย์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ตัวอย่างที่นำมาวิเคราะห์เป็นกากตะกรันโลหะที่ขุดพบในแหล่งโบราณคดีนี้ การวิคราะห์ใช้เทคนิคและเครื่องมือดังต่อไปนี้ scanning electron microscopy with energy dispersive x-ray spectrometry (SEM-EDX), X-ray fluorescence spectrometry (XRF), X-ray diffractometer (XRD) ผลการศึกษากากตะกรันโลหะโดยใช้ไดอะแกรม FeO-SiO2-Al2O3 พบว่าองค์ประกอบธาตุส่วนใหญ่อยู่ในแร่ hercynite แสดงให้เห็นประสิทธิภาพในการในการถลุงแร่เหล็กที่อยู่ในช่วงอุณหภูมิ 1,088-1,250 ̊C
Article Details
ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ
References
Rehren, Th., Charlton, M., Chirikure, S., Hum-phris, J., Ige, A., Veldhuijzen, H.A., (2007). Decisions set in slag: the human factor in african iron smelting. In: La Niece, S., Hook, D.R., Craddock, P.T. (Eds.),Metals and Mines – Studies in Archaeometallurgy. Archetype, British Museum, London, 211–218.
Tylecote, R.F. (1986).The Prehistory of Metallurgy in the British Isles. Institute of Metals, London.
Veldhuijzen, H.A., Rehren, Th. (2007). Slags and the city: Early iron production at Tell Hammeh, Jordan, and Tel Beth-Shemesh, Israel. In: La Niece, S., Hook, D.R., Craddock, P.T. (Eds.),Metals and Mines – Studies in Archaeometallurgy. Archetype, British Museum, London, 189–201.