ประสิทธิภาพการปรับปรุงท่าทางการทำงานและสถานีการทำงาน สำหรับพนักงานร้านสเต็ก

ผู้แต่ง

  • ปิยภรณ์ จันทรศรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ

คำสำคัญ:

ารยศาสตร์, อาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง, การปรับปรุงสถานีการทำงาน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การศึกษาอาการบาดเจ็บของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในพนักงานร้านสเต็ก จำนวน 17 คน โดยใช้แบบสอบถามนอร์ดิกและแบบประเมิน (REBA) ผลการศึกษา พบว่า อาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในช่วงก่อนการปรับปรุงสถานีงาน เท่ากับร้อยละ 82.3 ในช่วงหลังการปรับปรุงสถานีงานเท่ากับ ร้อยละ 58.2 เปรียบเทียบอาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างก่อนและหลังการปรับปรุงลดลงร้อยละ 24.1 พนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในส่วนของงานบริการและพาสต้า     มีระดับคะแนน REBA สูงกว่าแผนกอื่น ๆ และพบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างก่อนการปรับปรุง  (p-value < 0.05) ได้แก่ อายุ, ระดับการศึกษา, การออกกำลังกาย, ช่วงเวลาทำงานแบบเข้ากะ , มีเวลาพัก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพบอาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างหลังการปรับปรุง ได้แก่ ปัจจัยของอายุ, ระดับการศึกษา และประเภทของงาน

 

คำสำคัญ: การยศาสตร์, อาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง, การปรับปรุงสถานีการทำงาน

References

สสิธร เทพตระการพร. (2551). การยศาสตร์: ผลกระทบต่อสุขภาพจากปัญหาการยศาสตร์.
กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สสิธร เทพตระการพร. (2546). เออร์โกโนมิค : อาชีวอนามัยและความปลอดภัย. กรุงเทพฯ
: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วิลาวัลย์ ไชยแก่น. (2549). ปัจจัยด้านการยศาสตร์และอัตราความชุกของอาการปวดทางโครงร่าง
และกล้ามเนื้อในคนงานผลิตชิ้นส่วนสารกึ่งตัวนํา ในนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ. เชียงใหม่
: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แคทรียา อรุณอิ่มสวัสดิ์,และคนอื่น ๆ . 2548. การปวดเมื่อยและโรคที่เกิดบริเวณรยางค์ส่วนบน
ของบุคลากรที่ใช้ คอมพิวเตอร์ ในหน่วยงานของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์.สงขลา
: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ธเนศ สินส่งสุข. (2547). การศึกษาความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการทำงานกับการเกิด
อาการทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในบุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาล
จุฬาลงกรณ์ . วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพ ฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ศุภฐิตา กองสิน. (2552). การปวดกล้ามเนื้อจากการทำงานของเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล
สรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา
อนามัยสิ่งแวดล้อม. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เนสินี ไชยเอีย,และคนอื่น ๆ. (2545). การหยุดงานเนื่องจากการเจ็บป่วยของบุคลากรงาน
บริการการพยาบาลโรงพยาบาลศรีนครินทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. ศรี
นครินทร์เวชสาร : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุวินันท์ ทวีพิริยะจินดา. (2558). ท่าทางการทำงานที่เป็นอันตรายและความชุกของอาการ
ผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างอันเกี่ยวเนื่องจากการทำงานในคนงาน
โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาอาชีว
เวชศาสตร์ศาสตร์. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
อรรถพล แก้วนวล,และคนอื่น ๆ . (2560). ความชุกของความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและ
กระดูกโครงร่างที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงานในอาชีพต่างๆ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์
มหาบัณฑิต. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
วันทนา ไชยกิตติโสภณ. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการบาดเจ็บโครงร่างกล้ามเนื้อที่เกี่ยวเนื่อง
จากการทํางานของพยาบาลกาญจนบุรี. กาญจนบุรี : โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา.
ประณีต ปิ่นเกล้า. (2550). ปัจจัยด้านการยศาสตร์และอัตราความชุกกลุ่มอาการผิดปกติทาง
ระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อในผู้ประกอบอาชีพนวดแผนไทย. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์
มหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลอาชีวอนามัย. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พัชริน พรมอนันต์. (2549). ปัจจัยด้านการยศาสตร์และอัตราความชุกของกลุ่มอาการผิดปกติ
ทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อในพนักงานโรงงานเฟอร์นิเจอร์. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์
มหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลอาชีวอนามัย. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
จารุวรรณ ปันวารี. (2552). อาการปวดคอที่เกิดกับบุคลากรที่ใช้คอมพิวเตอร์: การศึกษา
ปัจจัยทางการยศาสตร์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟู. เชียงใหม่
: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุนันท์ ศุกลรัตน์เมธี. (2540, ธันวาคม). “สภาพการทํางานและภาวะปวดเมื่อยกล้ามเนื้อของ
บุคลากรโรงพยาบาลโพธาราม”. วารสารแพทย์เขต 7. 97 (6) : 251-23.
พิสิษฐ์ เลิศเชาวพัฒน์. (2549). ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดหลังส่วนล่างใน
ผู้ผลิตสินค้าประเภทไม้ในกลุ่มสหกรณ์วังน้ำเย็นจังหวัดสระแก้ว. ปริญญาวิทยาศาสตร์
มหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวเวชศาสตร์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิลปสุวรรณ พ. (2544). ลักษณะท่าทางและวิธีการทํางานที่มีผลต่อสุขภาพ. วิทยานิพนธ์
พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาการพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล.
นริศ เจริญพร. (2547). เอกสารประกอบการสอนการประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นงลักษณ์ ทศทิศ,และคนอื่น ๆ . (2554, มีนาคม). “ความชุกกของความผิดปกติทางระบบ
กระดูกและกล้ามเนื้อในกลุ่มอาชีพตัดเย็บจังหวัดขอนแก่น”. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัย
ขอนแก่น. 11 (2) : 47-54.
ปานจิต วรรณภิระ,และคนอื่น ๆ. (2550). ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดหลัง
ส่วนล่าง สะโพก ขา ในบุคลากรโรงพยาบาลพุทธชินราชเวชสาร. พิษณุโลก : โรงพยาบาลพุทธ
ชินราชเวชสาร.
ธนะรัตน์ บุญเรือง. (2542). ความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างของระยางค์ส่วนบน
ที่เกี่ยวข้องกับการทํางาน. กรุงเทพฯ : เจ เอส เค การพิมพ์.
วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี,และคนอื่น ๆ . (2551). การเปรียบเทียบความเมื่อยล้ากล้ามเนื้อของ
นักงานรับเงินที่ทำงานในสถานีงานที่ออกแบบตามข้อเสนอแนะของ OSHA และไม่เป็นไปตาม
ข้อเสนอแนะของ OSHA. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
มหิดล.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30