แนวทางการส่งเสริมกาละแม อาหารวัฒนธรรมของเทศกาลสงกรานต์ สู่การเป็นซอฟต์พาวเวอร์
คำสำคัญ:
เทศกาลสงกรานต์, ซอฟต์พาวเวอร์, กาละแม, อาหารเชิงวัฒนธรรม, ขนมไทยบทคัดย่อ
เทศกาลสงกรานต์ของประเทศไทยถือเป็นหนึ่งใน 5F ที่ประเทศไทยส่งเสริมเป็น ซอฟต์พาวเวอร์ที่มีศักยภาพสูงสร้างรายได้ให้กับประเทศจากนักท่องเที่ยวและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO)นำขึ้นทะเบียนเป็นมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ความสัมพันธ์ระหว่างอาหารเชิงวัฒนธรรมและประเพณีสงกรานต์เป็นอีกวิธีหนึ่งในการส่งเสริมและขยายเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ กาละแมเป็นขนมโบราณที่มีประวัติ มีเรื่องราวที่สามารถส่งเสริมผลักดันควบคู่กันกับเทศกาลสงกรานต์ได้ อย่างไรก็ตามการที่จะทำให้เป็นซอฟต์พาวเวอร์มีปัจจัยสำคัญคือการสร้างให้เกิดคุณค่าและมีการสนับสนุนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง แนวทางพัฒนากาละแมให้มีคุณภาพคือ มีกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน ผู้ผลิตมีทักษะที่ดี มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์และยืดอายุการเก็บรักษาและรวมถึงการส่งเสริมการตลาดและการใช้โซเชียลมีเดียควบคู่ไปกับเทศกาลสงกรานต์จะส่งผลให้วัฒนธรรมมีความเข้มแข็ง นำไปสู่ซอฟต์พาวเวอร์ที่ยั่งยืนของประเทศไทย
Downloads
References
กมลทิพย์ กรรไพเราะ, และภารดี พละไชย. (2564). การยืดอายุการเก็บรักษาขนมไหว้พระจันทร์ด้วยสารฮิวเมกเตนท์: กรณีศึกษา บริษัทซัน โฟรเซ่นฟรุ๊ต จํากัด (รายงานการวิจัย). ยะลา: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา.
กฤช ตรองจิตต์, และจารุวรรณ ภัทรสรรเพชญ. (2559). การปนเปื้อนและป้องกันการเสื่อมเสียของกาละแมจากเชื้อรา. วารสารวิทยาศาสตร คชสาส์น, 38(1), 14-26.
กระทรวงวัฒนธรรม. (2560). ประเพณีกวนกาละแม. สืบค้นจาก https://www2.m-culture.go.th/th/article_view.php?nid=10962
กัญญ์ญาณัฐ จึงพัฒนา, และธวมินทร์ เครือโสม. (2565). ทัศนคติและแนวทางการพัฒนาขนมไทยในประเทศสิงคโปร์. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 11(1), 1-17.
เทคโนโลยีชาวบ้าน. (2564). ส่องสินค้า “กศน. พรีเมี่ยม” ของดีเมืองปทุมธานี. สืบค้นจาก https://www.technologychaoban.com/thai-local-wisdom/article_175145
ธัญลักษณ์ ศุภพลธร, เศรษฐชัย ใจฮึก, กษิรา ภิวงศ์กูร, และธนายุต บัวหลวง. (2565). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์กะละแมโบราณเชียงคำ อำเภอเชียงคำ. การประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 22 “ชีวิตวิถีใหม่ของการศึกษาในสังคมดิจิทัล” วันที่ 16 สิงหาคม 2565. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ศูนย์การศึกษาย่านมัทรี.
บ้านเมือง. (2567). พ่อเมืองปทุมฯบูมเที่ยวสงกรานต์ชวนกิน ข้าวแช่แก้ร้อน แต่งมอญวิถีปทุม. สืบค้น จาก https://www.banmuang.co.th/news/region/376947
ปรีชา ตั้งสุขขีย์ศิริ, ณภัทร สำราญราษฎร์, และหงสกุล เมสนุกูล. (2565). แนวทางส่งเสริมการท่องเที่ยวบนพื้นฐานของซอฟต์พาวเวอร์ ด้านอาหารพื้นถิ่นจังหวัดสุโขทัย. วารสารการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 4(2), 77-89.
ปานทิพย์ ผดุงศิลป์ และเชาวลิต อุปฐาก. (2556). การใช้ข้าวกล้องงอก 3 อิน 1 เสริมในการละแมปรุงรสลาเต้ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
ปิลันธสุทธิ์ สุวรรณเลิศ. (2555). การพัฒนาผลิตภัณฑ์กะละแมอัญชัน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, เชียงใหม่.
เปรม ถาวรประภาสวัสดิ์. (2567). Soft Power กับการท่องเที่ยวไทย. สืบค้นจากhttps:www.par
liament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/download/article/article_20240409095552.pdf
แพรภัทร ยอดแก้ว. (2561). กะละแมลุงพร: สินค้าจากภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สินค้านวัตกรรม ตามโมเดลไทยแลนด์ 4.0. วารสารวิจัยวัฒนธรรม, 1(1), 1-15.
มนัญญา คำวชิระพิทักษ์. (2566). อาหารสำหรับสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในยุคชีวิตวิถีใหม่. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 3(3), 43-56.
รัตนา อัตตปัญโญ, ยุพารัตน์ โพธิเศษ, คุณากร ขัติศร และ เจิมขวัญ สังข์สุวรรณ. (2560). การพัฒนากระบวนการผลิตกาละแมเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 25(1), 56-65.
ศศิอาภา บุญคง, ข่ายทอง ชุนหสุวรรณ, และบุษกร สุทธิประภา. (2559). การวิจัยและพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ขนมไทยนำภูมิปัญญาไทยสู่สากล กรณีศึกษาชุมชนตรอกข้าวเม่าเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
ศรัณยา จังโส. (2563). การพัฒนากระบวนการผลิตและยืดอายุการเก็บรักษาข้าวหลาม ในอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 15(2), 1-15.
ศิริพร พึ่งเพ็ชร์, วิไลวรรณ ศิริประภาภูวดล และ ไพโรจน์ ศรีคง. (2566). อำนาจละมุนอัตลักษณ์ชุมชนเพื่อการเสริมสร้างรายได้ผู้สูงวัยของชุมชนบ้านโนนเขวา อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 5(3), 533-542.
ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร. (2559). การศึกษาวิธีการเก็บกาละแมด้วยวิธีการบรรจุดัดแปรบรรยากาศ. สืบค้นจาก https://fic.nfi.or.th/knowledge-detail.php?id=684
สันทัด โพธิสา. (2566). Soft Power คืออะไร? รวม “ของไทย” ปังจริงในหมู่ชาวต่างชาติ. สืบค้นจาก https://www.thaipbs.or.th/now/content/491
สำนักข่าวอินโฟเควสท์. (2567). พาณิชย์จับมือก.ท่องเที่ยวฯ-ททท.ดันอาหารไทยเป็น Soft Powerดึงท้องถิ่นร่วมตามเส้นทางท่องเที่ยว. สืบค้นจากhttps://www.infoquest.co.th /2023/357990
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (2567). ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ Soft Power ของไทย ชุดโครงการ “จับตาอาเซียน” (ASEAN Watch). สืบค้นจาก https://www.asean watch.org/wp-content/uploads/2018/10/ข้อเสนอนโยบาย-soft-power-revised.pdf
สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2548). มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน เรื่อง กาละแ, มผช.873/2548. กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดปทุมธานี. (2565). ประเพณีกวนกาละแม. สืบค้นจาก https://www2.mculture.go.th/phatumthani/ewt_news.php?nid=1935&filename=index
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพัทลุง. (2564). ภูมิปัญญาการทำกาละแม. สืบค้นจาก https://www.m-culture.go.th/phatthalung/ewt_news.php?nid=2723& filename=King
สูฮัยลา บินสะมะแอ. (2566). โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการตลาด (ออนไลน์) สำหรับผู้ประกอบการสินค้า กาละแม ของกลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา พื้นที่ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา (รายงานการวิจัย). ยะลา: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
อารยา ปรานประวิตร, ปริญญา สุกแก้วมณี, อุราภรณ์ เรืองวัชรินทร์, และจรัญ เข้มเพ็ชร. (2560). การปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่น: ผลิตภัณฑ์กาละแม อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษร์ธานี. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี), 9(18), 188-198.