อาหารสำหรับไตเสื่อมเรื้อรังระยะก่อนการบําบัดทดแทนไต บทบาทของอาหารโปรตีนต่ำและแนวทางการพัฒนาแป้งปลอดโปรตีน
คำสำคัญ:
โรคไตเรื้อรัง, แป้งปลอดโปรตีน, อาหารโปรตีนต่ำบทคัดย่อ
การจัดการอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังเพื่อให้ร่างกายได้รับพลังงานเพียงพอต่อวัน บริโภคอาหารโปรตีนต่ำตามระยะการเสื่อมของไตโดยเน้นบริโภคโปรตีนคุณภาพสูงควบคู่ไปกับการลดโซเดียมในอาหารเพื่อลดการเสื่อมของไตและชะลอการบำบัดทดแทนไต แป้งปลอดโปรตีนถูกนำมาประกอบอาหารแทนการใช้ข้าวหรือเส้นก๋วยเตี๋ยวหรือขนมปังในบางมื้อ ในอนาคตการพัฒนานวัตกรรมอาหารจากแป้งปลอดโปรตีน เช่น พัฒนาจากสตาร์ชจากวัตถุดิบแหล่งใหม่หรือใช้สตาร์ชแทนการใช้ฟลาวร์ในผลิตภัณฑ์ร่วมกับการปรับปรุงเนื้อสัมผัส
Downloads
References
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. (2563). คู่มืออาหารบำบัดโรคไตเสื่อม.กรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข.กรุงเทพมหานคร:บริษัท วี อินดี้ ดีไซน์ จำกัด.
กานต์มณี สังขพันธ์, ปิยวรรณ แก้วทอน, พัชรี ขวัญกะโผะ, วิภารัตน์ ยกพ่วง, ตั้ม บุญรอด, วิชชาดา
สิมลา และ ศิริรัตน์ ศรีรักษา. (2563). ระยะเวลาในการเกิดโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่
: การทบทวนวรรณกรรมอย่างป็นระบบ และการวิเคราะห์เชิงอภิมาน. J Med Health Sci, 27(3), 83-99.
จิรนาถ บุญคง. (2555). การศึกษาสมบัติทางเคมี-กายภาพของสตาร์ชฟอสเฟตจากเมล็ดขนุน. วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 7(1), 40-50.
ชนิดา ปโชติการ. (2559) Nutrition in Dialysis Patients. (online) http://www.phukieo.net/hospital/wp-content/uploads/2016/09/Ntr-CKD-Hemo-%E0%B8%AD-E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%B2.pdf
น้ำฝน ศีตะจิตต์. (2555). เอกสารประกอบการสอนวิชา อาหารบำบัดโรค. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ จ.ปทุมธานี.
ปิยวรรณ กิตติสกุลนาม. (2558). คำแนะนำการบริโภคอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังในระยะก่อนบำบัดทดแทนไตและโรคไตระยะสุดท้าย. วารสารโภชนบำบัด, 26(2), 10-19.
มณีรัตน์ จิรัปปภา. (2557). การชะลอไตเสื่อมจากวัยผู้ใหญ่ถึงวัยผู้สูงอายุ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 20(2), 5-16.
รสพร เจียมจริยธรรม, อันนพร ไชยเดช, กิตติทัต ในทอง, รวิวรรณ สร้อยทองเจริญ และ วีณา ทองรอด. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์เส้นปลอดโปรตีน. วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง, 30(2), 106-120.
รสสุคนธ์ วาริทสกุล. (2557). การจัดการอาหารเพื่อชะลอความเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจากเบาหวาน. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(1), 22-28.
ศิรินทร์ จิวากานนท์, ดรุณีวัลย์ วโรดมวิจิตร, อุปถัมภ์ ศุภสินธุ์, ประพิมพ์พร ฉัตรานุกูลชัย, วีระเดช พิศประเสริฐ, อาคม นงนุช, กุลวิชย์ ตรองตระกูล, ไกรวิพร เกียรติสุนทร, ชนิดา ปโชติการ, ดาราพร รุ้งพราย, ศานิต วิชานศวกุล, จุฑาธิป ลิ้มคุณากูล, นันทพร เติมพรเลิศ, ปิยวรรณ กิตติสกุลนาม, สิรกานต์ เตชะวณิช, อภิรมย์ เหล่าเจริญเกียรติ, จริยา บุญภัทรรักษา, นัธิดา บุญกาญจน์, ปิ่นแก้ว กล้ายประยงค์, และ ส่งศรี แก้วถนอม. (2563). คำแนะนำ แนวทางเวชปฏิบัติ โภชนบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคไตในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2561. วารสารโภชนบำบัด, 28(2), 18-67.
สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย (ก). (มปป). ข้อมูลการบำบัดทดแทนไตในประเทศไทย พ.ศ. 2563. Thailand renal replacement therapy: year 2020.
สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย (ข). (มปป). แบบแผนอาหารสำหรับผู้ป่วยไตเรื้อรังก่อนได้รับการบำบัดทดแทนไต. สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย (แผ่นพับ)
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (2559). อนุสิทธิบัตร เลขที่ 1601004870 เรื่อง : กรรมวิธีการผลิตและสูตรวุ้นเส้นจากสตาร์ชเมล็ดขนุน (ออนไลน์) https://opac.tistr.or.th/cgi-bin/koha/opac-detail.pl?biblionumber=50882
สำนักโภชนาการ. (2561). ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (ออนไลน์) https://nutrition2.anamai.moph.go.th/th/thai-food-composition-table
สำนักโภชนาการ. (มปป.). ตำรับอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (ระยะก่อนฟอกเลือด). กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (ออนไลน์) https://hpc12.anamai.moph.go.th/th/purchase/download?id=81044&mid=3259&mkey=m_magazine&lang=th&did=3166
สุรัสวดี พนมแก่น, ปราณี แสดคง, สมใจ เจียระพงษ์ และจรรยา คงใหญ่. (2559). บทบาทพยาบาลในการป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยโรคเบาหวาน. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 34(4), 14-18.
อุปถัมภ์ ศุภสินธุ์. (2558). สาระสำคัญการให้โภชนบำบัดแก่ผู้ป่วยโรคไต. วารสารโภชนบำบัด, 23(2), 3-6.
National Kidney Foundation. (2002). Clinical practice guidelines: For Chronic Kidney
Disease: Evaluation, Classification and Stratification. National Kidney Foundation,Inc. (online) https://www.kidney.org/sites/default/files/docs/ckd_evaluation_
classification_stratification.pdf
Shaw Watanabe. (2017). Low-protein diet for the prevention of renal failure. Proc. Jpn. Acad., Ser. 93(1), 1-9.